วันจันทร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

สรุปย่อตัวบทอาญา

เสรีภาพ

ข่มขืนใจ ( ชีวิต / ร่างกาย / เสรีภาพ / ทรัพย์สิน ) = ตนเอง / ผู้อื่น กระทำการ / ไม่กระทำการ / จำยอม
ใช้กำลังประทุษร้าย
ว.2 = อาวุธ / 5 คนขึ้น / ทำ, ถอน, ทำลาย / เสียหาย / ทำลาย = เอกสารสิทธิ
ว.3 = อั้งยี่ / ซ่องโจร ( มีหรือไม่ )

หน่วงเหนี่ยว / กักขัง ( ปราศจากเสรีภาพในร่างกาย )
ว.2 = ตาย / สาหัส ( ม.290 / 297 / 298 )

หน่วงเหนี่ยว / กักขัง = ปราศจากเสรีภาพ + เพื่อให้ผู้อื่นกระทำการใด

ประมาท หน่วงเหนี่ยว / กักขัง ( ปราศจากเสรีภาพ )
ว.2 = ตาย / สาหัส ( ม. 291 / 300 ) 1. เด็กไม่เกิน 15 ( เพิ่มโทษ )
2.บาดเจ็บ / สาหัส / ตาย
เอาคนลงทาส / นำเข้า-ส่งออกนอกราช / ซื้อ ขาย จำหน่าย รับ หน่วงเหนี่ยว บุคคลใด

ทุจริตรับไว้ / จำหน่าย / ธุระจัดหา / ล่อพาไป = เกิน 15 แต่ไม่เกิน 18 พราก
ว.2 = ไม่เกิน 15
ปราศจากเหตุสมควร ไม่เกิน 15 ไปจากพ่อแม่ / ผู้ปกครอง
***ค่าไถ่*** พราก กว่า 15 ไม่เกิน 18 ( ไม่เต็มใจไปด้วย )

ให้ได้ค่าไถ่ 1. ไม่เกิน 15
2. กว่า 15 ( อุบาย / ขู่เข๊ญ / กำลัง / อำนาจ / ข่มขืนใจ ) ว.2 = ทุจริต / ซื้อ / จำหน่าย
3. หน่วงเหนี่ยว / กักขัง ว.3 = กำไร / อนาจาร
ว.2 = สาหัส / ทรมาน / ทารุณ
ว.3 = ตาย พราก = กว่า 15 ไม่เกิน 18 ( กำไร / อนาจาร )
( เต็มใจไปด้วย )
*** สนับสนุน = ตัวการ ***
อุบาย / ขู่ / กำลัง / อำนาจ = พา / ส่งคนออกนอกราช
คนกลางเรียก / รับ จาก 1. ผู้เรียกค่าไถ่ ( ม.313 ) ว.2 = พาไปเพื่อให้ตกอยู่ในอำนาจของผู้อื่น
2. ผู้ให้ค่าไถ่

ผู้ทำผิด ให้เสรีภาพก่อนศาลชั้นต้นพิพาษา + ไม่สาหัส ( ใกล้อันตรายชีวิต ) = น้อยกว่าที่กฎหมายกำหนด แต่ ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง


*****ม. 309 / 310 / 311 วรรคแรก = ยอมความได้*****











หมิ่นประมาท

ใส่ความ ผู้อื่น ต่อบุคคลที่ 3 ผู้อื่น = เสียชื่อเสียง / ถูกดูหมิ่น / ถูกเกลียดชัง หมิ่นประมาท
ใส่ความ ผู้ตาย ต่อบุคคลที่ 3 บิดา / มารดา / คู่สมรส / บุตร ผู้ตาย = เสียชื่อเสียง / ถูกดูหมิ่น / ถูกเกลียดชัง


หมิ่นประมาทโดย โฆษณา = เอกสาร / ภาพวาด / ภาพระบายสี / ภาพยนตร์ / ตัวอักษร / สิ่งบันทึกเสียง / บันทึกภาพ
กระจายเสียง / กระจายภาพ / ป่าวประกาศ

แสดงความเห็น / ข้อความโดยสุจริต 1. ป้องกันตน / ส่วนได้เสีย ( ชอบธรรม + คลองธรรม )
2. เจ้าพนักงานปฏิบัติการตามหน้าที่ ไม่มีความผิด
3. ติชมความเป็นธรรม ( วิสัยประชาชนย่อมกระทำ )
4. แจ้งข่าวความเป็นธรรมเรื่องในศาล / การประชุม

กรณีผู้ทำผิดหมิ่นประมาท พิสูจน์ว่าจริง = ไม่ต้องรับโทษ เว้นแต่ ส่วนตัว + ไม่เป็นประโยชน์กับประชาชน

คู่ความ / ทนายความ แสดงความคิดเห็น / ข้อความ ในการพิจารณาคดีในศาล ( *** เพื่อประโยชน์คดีของตน *** )

คดีหมิ่นประมาท ศาลอาจสั่ง 1. ยึด / ทำลาย = วัตถุ / ส่วนวัตถุ ที่หมิ่นประมาท
2. โฆษณาคำพิพากษาในหนังสือพิมพ์ ฉบับเดียว / หลายฉบับ ( จำเลยชำระ )

******************* หมวดนี้ยอมความได้ ***********************

ผสห. ตายก่อนร้องทุกข์ พ่อ / แม่ / คู่สมรส / บุตร ของผู้เสียหายร้องทุกข็ได้ + ถือเป็นผู้เสียหาย












ลัก / วิ่งราว

เอาทรัพย์ ผู้อื่น / ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวม ( ทุจริต )
ลักทรัพย์ 1. กลางคืน
2. เพลิงไหม้ / ระเบิด / อุทกภัย / อุบัติเหตุ รถไฟ / ยานพาหนะ = โอกาสที่ประชาชนตื่นกลัว
3. สิ่งกีดกั้น / ผ่านสิ่งเช่นว่านั้น
4. เข้าทางช่องทางโดยไม่ให้คนเข้า
5. แปลงตัว / ปลอมตัว = ผู้อื่น / มอมหน้า (ไม่ให้เห็น / จำหน้าได้)
6. ลวงเป็น จพง.
7. อาวุธ / 2 คนขึ้นไป
8. ในเคหสถาน / สถานที่ราชการ / สถานที่ที่เข้าไปไม่ได้รับโดยไม่ได้รับอนุญาต / ซ่อนตัวอยู่
9. บูชา / รถไฟ / ท่าอากาศยาน / ที่จอดรถ / เรือ / สาธารณสถานสำหรับขนถ่ายสินค้า / ยวดยานสาธารณะ
10. ที่ใช้ / มีไว้ เพื่อสาธารณะประโยชน์
11. ของนายจ้าง / ความครอบครองนายจ้าง
12. กสิกรรม / สัตว์กสิกรรม

ว.2 = 2 อนุมาตราขึ้นไป
ว.3 = โค / กระบือ / เครื่องกล / เครื่องจักร (อาชีพกสิกรรม)
ว.4 = ทำเพราะยากจน + ทรัพย์ราคาน้อย = ลงโทษใน ม. 334 ได้

*** พระพุทธรูป / ที่สักการบูชา / สมบัติของชาติ (หรือส่วนหนึ่งส่วนใด) ***
*** ว.2 สำนักสงฆ์ / โบราณสถาน / ทรัพย์สินของแผ่นดิน ***


ลักทรัพย์โดย ฉกฉวยเอาซึ่งหน้า วิ่งราวทรัพย์
ว.2 = อันตรายกาย / ใจ
ว.3 = สาหัส
ว.4 = ตาย


ถ้าทำทั้งหมดที่ผ่านมาโดย แต่งเครื่องแบบทหาร / ตำรวจ ( เข้าใจว่า )
มี / ใช้ = ปืน / ระเบิด ระวางโทษหนักกว่ามาตรานั้น กึ่งหนึ่ง
ยานพาหนะ = สะดวกแก่การพาไป / พ้นจับกุม


กรรโชก / รีด / ชิง /ปล้น

ข่มขืนใจผู้อื่น ให้ / ยอมให้ ปย. ลักษณะที่เป็นทรัพย์สิน ใช้กำลัง / ขู่ว่าจะทำอันตราย ชีวิต / ร่างกาย / เสรีภาพ / ทรัพย์สิน
( กรรโชก )


ผู้ถูกขู่เข็ญ บุคคลที่ 3


จนยอม
กรรโชกโดย ขู่ฆ่า / ขู่ทำร้ายร่างกาย / เพลิงไหม้ / มีอาวุธมาขู่

ขู่เปิดเผยความลับ ( เปิดเผยแล้ว = ผู้ถูกขู่เข็ญ / บุคคลที่ 3 เสียหาย ) *** ยอมทำตาม ***
( รีดเอาทรัพย์ )

ลักทรัพย์ โดยใช้กำลัง / ขู่จะใช้ เพื่อ สะดวกแก่การลัก / พา ทรัพย์ไป
( ชิงทรัพย์ ) ยื่นให้
ยึดถือ
ปกปิดการทำผิด
พ้นการจับกุม

ว.2 = อนุมาตราใน ม. 335 / โค / กระบือ / เครื่องกล / เครื่องจักร ( กสิกรรม )
ว.3 = อันตรายกาย / ใจ
ว.4 = สาหัส
ว.5 = ตาย

ชิงทรัพย์ม.335 ทวิ วรรคแรก ( ต่อทรัพย์ ) ปล้นทรัพย์ ม. 335 ทวิ วรรคแรก ( ต่อทรัพย์ )
ชิงทรัพย์ม.335 ทวิ วรรคสอง ( ต่อสถานที่ ) ปล้นทรัพย์ ม. 335 ทวิ วรรคสอง ( ต่อสถานที่ )
ว.3 = คนใดมีอาวุธติดตัว
ว.3 = อันตรายกาย / ใจ ว.4 = สาหัส
ว.4 = สาหัส ว.5 = ทารุณ / ทรมาน / ปืนยิง / ระเบิด
ว.5 = ตาย ว.6 = ตาย
( ผู้อื่น )


ชิงทรัพย์ 3 คนขึ้นไป ( ปล้นทรัพย์ ) ชิง – ปล้น (ที่ผ่านมา) = แต่งกายเครื่องแบบ / เข้าใจว่า = ทหาร / ตำรวจ
ว.2 = คนใดมีอาวุธติดตัวไปด้วย มี , ใช้อาวุธปืน / ระเบิด
ว.3 = สาหัส ยานพาหนะ = เพื่อทำผิด / พาทรัพย์ไป / พ้นการจับกุม
ว.4 = ทารุณ / ทรมาน / ปืนยิง / ระเบิด
ว.5 = ตาย
ฉ้อโกง
ผู้ถูกหลอกลวง
โดยทุจริต หลอกลวงผู้อื่น ( แสดงข้อความอันเป็นเท็จ ) ได้ไปซึ่งทรัพย์สินจาก
( ฉ้อโกง ) ปกปิดความจริง ( ควรบอก ) ทำ / ถอน / ทำลาย
( เอกสารสิทธิ ) บุคคลที่ 3

ฉ้อโกง 1. แสดงตนเป็นคนอื่น
2. อาศัยความเบาปัญญา / ความอ่อนแอ = เด็ก / ผู้ถูกหลอกลวง

ฉ้อโกง แสดงข้อความเท็จ / ปกปิดความจริง = ประชาชน
ว.2 = ทำในอนุข้างบนด้วย

โดยทุจริต หลอกลวง 10 คน UP ให้ทำงาน = โดยไม่ใช้ค่าแรงค่าจ้าง / ใช้ต่ำกว่าที่ตกลง

สั่งซื้อ + บริโภค ในโรงแรม รู้ว่าตนไม่มีเงินจ่าย

เพื่อเอาทรัพย์เป็นของตน / คนที่ 3 = ชักจูงให้ขายโดยเสียเปรียบ ( จิตอ่อนแอ / เบาปัญญา / ไม่สามารถเข้าใจการกระทำของตน = จำหน่ายทรัพย์
( หลอกให้ขาย )

เพื่อให้ตน / คนอื่น ได้รับประโยชน์จากการประกันวินาศภัย ( แกล้งให้เสียหายกับทรัพย์ที่เอาประกัน )

********** ยอมความได้ นอกจาก ฉ้อโกงประชาชน ยอมไม่ได้ *************

โกงเจ้าหนี้

เอาไปเสีย / ทำให้เสียหาย / ทำลาย / ทำให้เสื่อมค่า / ไร้ปย. ทรัพย์ที่จำนำไว้ ( เพื่อให้เสียหายแก่ผู้รับจำนำ )

มิให้เจ้าหนี้ ตน / ผู้อื่น = รับชำระหนี้ทั้งหมด / บางส่วน ( ได้ใช้สิทธิเรียกร้องทางศาล ) ย้าย / ซ่อน / โอนไปแก่ผู้อื่น / แกล้งเป็นหนี้

**** หมวดนี้ยอมความได้ ***


รับของโจร

ช่วยซ่อนเร้น / ช่วยจำหน่าย / ช่วยพาเอาไป / ซื้อ / รับจำนำ / รับไว้ ทรัพย์อันได้มาโดยการทำผิด
( ลัก / วิ่ง / ชิง / ปล้น / กรร / ฉ้อ / ยัก / รีด / จพง.ยักยอกทรัพย์ )

ว.2 = รับของโจรทำเพื่อ การค้า / กำไร / ทรัพย์ตามมาตรา 335 (10) / ชิง / ปล้น

ว.3 = รับของโจร ลักทรัพย์มาตรา 335 ทวิ / ชิงทรัพย์มาตรา 339 ทวิ / ปล้นทรัพย์มาตรา 340 ทวิ
ยักยอก

ครอบครองทรัพย์ = ผู้อื่น / ผู้อื่นเป็นเจ้าของรวม เบียดบังเอาเป็นของ ตน / บุคคลที่ 3 ( โดยทุจริต )
มาอยู่ในความครอบครองของผู้ทำผิด ผู้อื่นส่งมอบโดยสำคัญผิด / เก็บได้ ( ทรัพย์สินหาย ) = โดนกึ่งหนึ่ง

ได้รับมอบหมายจัดการทรัพย์ผู้อื่น / เจ้าของรวม กระทำผิดหน้าที่ ( โดยทุจริต ) ทรัพย์เสียหาย

2 ความผิดข้างบน ผู้ทำผิดเป็น ผู้จัดการทรัพย์สินตามคำสั่งศาล / ตามพินัยกรรม / ผู้มีอาชีพธุรกิจ ( ไว้วางใจของประชาชน )

เก็บสังหาริมทรัพย์อันมีค่า ( ซ่อน / ฝัง ) ไม่มีผู้ใดอ้างเป็นเจ้าของ เบียดบัง ( ตน / ผู้อื่น )

**** หมวดนี้ยอมความได้ ***

เสียทรัพย์

ทำให้เสียหาย / ทำลาย / เสื่อมค่า / ไร้ประโยชน์ ทรัพย์ ( ผู้อื่น / เจ้าของรวม )

ทำให้เสียทรัพย์ดังนี้ 1. เครื่องกล / เครื่องจักร ( ประกอบกสิกรรม )
2. ปศุสัตว์
3. ยานพาหนะที่ใช้ขนส่งสาธารณะ / ประกอบกสิกรรม / อุตสาหกรรม
4. พืชผลเกษตรกร

ทำให้เสียหาย / ทำลาย / เสื่อมค่า / ไร้ประโยชน์ ทรัพย์ที่ใช้ / มีไว้ เพื่อสาธารณประโยชน์
ทำให้เสียหาย / ทำลาย / เสื่อมค่า / ไร้ประโยชน์ ทรัพย์มาตรา 335 ทวิ ว. 1 / 2

**** 2 ความผิดแรกยอมความได้ *****

บุกรุก

เข้าไปในอสัง ( ถือการครอบครอง ) ผู้อื่น รบกวนการครอบครองโดยปกติสุข
เพื่อเอาอสังหาเป็นของ ตน / คนที่ 3 ยักย้าย / ทำลาย เครื่องหมายเขต
ไม่มีเหตุสมควร เข้าไป / ซ่อนตัว / ไม่ยอมออก (เมื่อผู้มีสิทธิไล่) = ในเคหสถาน / อาคารเก็บทรัพย์ สำนักงาน(ความครอบครองผู้อื่น)

บุกรุก โดย 1. ใช้กำลัง / ขู่จะใช้
2. มีอาวุธ / ร่วมกัน 2 คนขึ้นไป
3. กลางคืน

**** 3 ความผิดข้างบนยอมความได้ เว้นเหตุฉกกรรจ์ ****
ลหุโทษ
ทราบคำสั่งจพง. ( สั่งตามกฎหมาย ) แล้วไม่ทำตาม ไม่มีเหตุผลอันควร
ว.2 = คำสั่งช่วยทำกิจการในหน้าที่ของ จพง.

ส่งเสียง / เกิดเสียง อื้ออึง ประชาชนเดือดร้อน / ตกใจ

พาอาวุธไปในเมือง /ทางสาธารณะ ( ไม่มีเหตุอันควร ) / ชุมชนจัดเพื่อมนัสการ / การรื่นเริง

ทะเลาะอื้ออึง / ทำให้เสียความสงบ ( สาธารณะ / สาธารณสถาน )

เห็นผู้อื่นภยันตรายถึงชีวิต ช่วยได้โดยไม่กลัว แต่ ไม่ช่วย

ยิงปืนในเมือง / ชุมชน ( โดยใช่เหตุ )

กระทำการขายหน้า เปลือย / โชว์ ร่างกาย ( ธารกำนัล )

ประมาท อันตรายแก่กาย / ใจ

ใช้กำลังทำร้าย ไม่ถึงกับเป็นเหตุอันตรายแก่กาย / ใจ

ก่อให้คนอื่น กลัว / ตกใจ โดยการขู่เข็ญ

ดูหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า / โฆษณา

ทารุณเด็กไม่เกิน 15 / คนป่วย / คนชรา ( พึ่งพาผู้นั้นในการดำรงชีพ )















ความรับผิดในทางอาญา

หลัก
ต้องรับผิดต่อเมื่อ เจตนา
เว้น
ประมาท ( กรณีกม. บัญญัติให้รับผิดแม้ทำโดยประมาท ) / กม. บัญญัติชัดแจ้งให้รับผิดแม้ไม่เจตนา
ว.2 = การทำโดยเจตนา รู้สำนึก + ประสงค์ต่อผล / เล็งเห็นผล
ว.3 = ไม่รู้ข้อทจ. ( อปก ) จะถือว่าประสงค์ / เล็ง = ไม่ได้
ว.4 = ประมาท มิใช่เจตนา + ปราศจากความระมัดระวัง ( วิสัย + พฤติการณ์ ) + ใช้ได้แต่หาใช้เพียงพอไม่
การกระทำ รวม งดเว้นเพื่อป้องกันผลด้วย

เจตนาต่อคนหนึ่ง อีกคนหนึ่ง ( ถือว่าเจตนาด้วย ) แต่ ห้ามนำกฎหมายมาลงโทษให้หนักขึ้นเพราะฐานะ / ความสัมพันธ์ (คนทำ / ผู้โดน)
( พลาด )

เจตนาต่อคนหนึ่ง อีกคนนึง เอามาเป็นข้อแก้ตัวว่าไม่เจตนาไม่ได้
( สำคัญผิด )


ถ้าข้อทจ. มีจริง ไม่เป็นความผิด / ไม่ต้องรับโทษ / รับโทษน้อยลง ผู้ทำสำคัญผิดว่ามีอยู่จริง ผู้ทำ = ไม่มีความผิด / ยกเว้นโทษ / รับน้อยลง

ว.2 = ถ้าไม่รู้ข้อทจ. มาตรา 59 วรรค 3 / สำคัญผิด ม.62 ( ข้างบน ) รับผิดฐานประมาท ( กม.บัญญัติรับโทษแม้ประมาท )
( ประมาท )

ว.3 =จะรับโทษหนักขึ้นโดยข้อทจ. ใด ต้องรู้ข้อเท็จจริงนั้น

ผลการกระทำทำให้รับโทษหนักขึ้น ผลตามธรรมดาที่เกิดขึ้นได้

แก้ตัวว่าไม่รู้กม.ไม่ได้ แต่ ศาลเห็นว่าอาจไม่รู้ = แสดงพยาน + ศาลเชื่อลงน้อยกว่าที่กม. กำหนดได้ ( เพียงใดก็ได้ )

ทำผิดขณะที่ ไม่สามารถรู้ผิดชอบ / ไม่สามารถบังคับตนเอง ( จิตบกพร่อง / โรคจิต / จิตฟั่นเฟือน ) = ไม่ต้องรับผิด
สามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง / บังคับตนเองได้บ้าง = รับโทษ ( ลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายหำหนด )

หลัก
เมา = ยกแก้ตัวไม่ได้ ( ม.65 )
เว้น
ไม่รู้ว่าทำให้เมา / ถูกขืนใจให้เสพ + กระทำขณะไม่สามารถรู้ผิดชอบ / ไม่สามารถบังคับตนเอง = ยกเว้นโทษ
แต่ถ้า สามารถรู้ผิดชอบอยู่บ้าง / บังคับตนเองได้บ้าง = รับโทษ ( ลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายหำหนด )

ทำตามคำสั่ง จพง. ( คำสั่งมิชอบ ) หลัก ไม่ต้องรับโทษ ( เชื่อโดยสุจริต )
เว้น รู้ว่าคำสั่งไม่ชอบ



จำเป็น / ป้องปัน / บันดาลโทสะ


กระทำด้วยความจำเป็น 1. ที่บังคับ / อำนาจที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
2. เพื่อให้ตนเอง / ผู้อื่น = พ้นภยันตราย ใกล้จะถึง + ไม่สามารถหลีกได้ + ตนมิได้ก่อขึ้น
***ไม่เกินสมควร = ไม่ต้องรับโทษ ***

ทำเพื่อป้องกันสิทธิ ตน / ผู้อื่น จากภยันตราย ประทุษร้ายอันละเมิดกฎหมาย + ใกล้จะถึง
*** พอสมควรแก่เหตุ = ไม่มีความผิด ***

กรณีจำเป็น / ป้องกัน = เกินสมควรแก่เหตุ / เกินกรณีแห่งความจำเป็น / เกินป้องกัน หลัก ลงโทษน้อยกว่าที่กม.กำหนดเพียงใดก็ได้
เว้น ตื่นเต้น / ตกใจ / กลัว = ไม่ลงโทษก็ได้

บันดาลโทสะ ทำไปขณะนั้น ( ข่มเหงร้ายแรงโดยไม่เป็นธรรม ) ลงโทษน้อยกว่าที่กม.กำหนดเพียงใดก็ได้


ความผิด ม.334 – 336 วรรคแรก / 341 – 364 สามีทำต่อภรรยา / ภรรยาทำต่อสามี = ไม่ต้องรับโทษ
บุพการีทำต่อผู้สืบสันดาน / ผู้สืบสันดานทำต่อบุพการี / พี่น้องร่วมบิดามารดาเดียวกัน
( กม. บอกยอมความไม่ได้ = ก็ยอมความได้ + ลงโทษน้อยกว่าที่กม.กำหนดเพียงใดก็ได้ )


ไม่เกิน 7 ปีทำผิด ไม่ต้องรับโทษ
เกิน 7 ไม่เกิน 14 ไม่ต้องรับโทษ แต่ 1. ว่ากล่าว + ปล่อยตัวไป ( เรียกพ่อแม่มาตักเตือนด้วยได้ )
2. มอบตัวให้พ่อแม่ + วางข้อกำหนดให้คุมดีๆ ( ไม่เกิน 3 ปี )+กำหนดเงินกรณีเด็กก่อเหตุ(1000)
( เด็กอยู่กับคนอื่น ก็เรียกที่อยู่ด้วยมา ถามว่ายอมรับข้อกำหนดไหม ยอม = มอบตัวเด็กไป )
3. - 5. ( ดูเอง )

กว่า 14 ไม่เกิน 17 ทำผิด ศาลพิจารณาความรู้ผิดชอบ + สิ่งอื่นๆ ไม่สมควร = ก็มาตราข้างบน
สมควร = ก็ลดมาตราส่วนโทษให้กึ่งหนึ่ง

กว่า 17 ไม่เกิน 20 สมควรลงโทษ = ลดลง 1 ใน 3 / กึ่งหนึ่ง

มีเหตุบรรเทาโทษ ( เพิ่ม / ลด ) = ลดไม่เกินกึ่งหนึ่งของโทษ
เหตุบรรเทาโทษ = โฉดเขลาเบาปัญญา / ความทุกข์สาหัส / มีคุณความดีมาก่อน / พยายามบรรเทาผลร้าย / ลุแก่โทษ / ให้ความรู้แก่ศาล
( ประโยชน์ในการพิจารณา )

คดีโทษปรับอย่างเดียว = ผู้ต้องหานำมาจ่ายในอัตราอย่างสูงก่อนเริ่มต้นสืบพยาน = คดีระงับไป



การพยายามกระทำความผิด

ลงมือทำแต่ทำไปไม่ตลอด / ทำตลอดแต่ไม่บรรลุผล พยายามทำความผิด ( 2 ใน 3 ส่วน ของโทษที่กฎหมายกำหนดสำหรับความผิด )

ทำมุ่งเป็นความผิด ไม่สามรถบรรลุผลแน่แท้ = ปัจจัย / วัตถุ ( พยายาม ลงโทษไม่เกินกึ่งหนึ่ง )
เชื่องมงาย = ศาลไม่ลงโทษก็ได้

พยายามทำผิด กลับใจแก้ไข / ยับยั้ง = ไม่ต้องรับโทษ ( แต่ที่ทำไปแล้วก็ต้องรับผิด )

ตัวการและผู้สนับสนุน

ทำผิด 2 คนขึ้นไป ตัวการ ( ระวางโทษตามที่กฎหมายกำหนด )

ก่อให้ผู้อื่นทำผิด = ใช้ / บังคับ / ขู่ / จ้าง / ยุยงส่งเสริม ผู้ใช้
ผู้ถูกใช้ได้กระทำความผิด ผู้ใช้ เสมือน ตัวการ ( รับผิด )
ผู้ถูกใช้ยังไม่ได้ทำความผิด ( ไม่ยอมทำ / ยังไม่ได้ทำ / เหตุอื่น ) ผู้ใช้ 1 ใน 3 ของโทษ

โฆษณา / ประกาศ แก่คนทั่วไปให้กระทำผิด + โทษไม่ต่ำกว่า 6 เดือน กึ่งหนึ่ง
ถ้ามีการทำความผิดตามวรรคแรก ตัวการ

ช่วยเหลือ / ให้ความสะดวก ก่อน / ขณะ ทำผิด ( แม้ไม่รู้ถึงการช่วยเหลือ ) ผู้สนับสนุน ( 2 ใน 3 )

มีการทำผิดเพราะมี ผู้ใช้ / ผู้โฆษณา ผู้สนับสนุน = ถ้าความผิดที่เกิดเกินขอบเขต / เกินเจตนา


ผู้สนับสนุน / ผู้ใช้ / ผู้โฆษณา = รับผิดเท่าที่มีในขอบเขต แต่ พฤติการณ์เล็งเห็นอาจเกิดได้ รับผิดตามที่เกิด

ผู้ถูกใช้ / ผู้ทำตามคำโฆษณา / ตัวการ = รับผิดสูงขึ้นเพราะอาศัยผลที่กระทำความผิด ผู้ใช้ / ผู้โฆษณา / ผู้สนับสนุน = รับผิด

แต่ ถ้าลักษณะความผิด ( สูงนั้น ) จะรับผิดสูงเมื่อผู้กระทำรู้ / อาจเล็งเห็นว่าจะเกิดผล

ผู้ใช้ / ผู้โฆษณา / ผู้สนับสนุน = รับผิดสูงขึ้นเมื่อตนได้รู้ / อางเล็งเห็นได้ว่าจะเกิดผล


ความผิดที่ใช้ / สนับสนุน / โฆษณา ทำถึงขั้นลงมือ ผู้ใช้ / โฆษณา / สนับสนุน = เข้าขัดขวาง ( ทำไม่ตลอด / ไม่บรรลุผล )

รับผิดในมาตรา 84 ว.2 / มาตรา 85 ว. แรก / ผู้สนับสนุนไม่ต้องรับโทษ
ยกเว้นโทษ / ลดโทษ / เพิ่มโทษ มีเหตุส่วนตัว = ใช้กับคนอื่นด้วยไม่ได้
มีเหตุลักษณะคดี = เอาไปใช้กับผู้ทำผิดได้ทุกคน

หลายบท / หลายกระทง


กระทำกรรมเดียว + ผิดกฎหมายหลายบท บทที่หนักที่สุดมาลงโทษ

กระทำหลายกรรมต่างกัน ศาลลงโทษทุกกรรมเป็นกระทง = เพิ่ม / ลด / ลดมาตราส่วนต้องไม่เกินดังนี้



1. 10 ปี ความผิดกระทงหนักที่สุดมีอัตราไม่เกิน 3 ปี
2. 20 ปี ความผิดกระทงที่หนักที่สุดมีอัตราโทษเกิน 3 ปี ไม่เกิน 10 ปี
3. 50 ปี ความผิดกระทงหนักที่สุดเกิน 10 ปีขึ้นไป
เว้น ศาลลงโทษจำคุกตลอดชีวิต


การกระทำความผิดอีก

ต้องคำพิพากษาให้จำคุก + กระทำความผิดในระหว่างที่รับโทษอยู่ / ภายใน 5 ปีนับแต่พ้นโทษ = ศาลจะพิพากษาครั้งหลังถึงจำคุก
( เพิ่มโทษ 1 ใน 3 ของโทษครั้งหลัง )

**** ม. 93 / ม.94 + เรื่องอายุความ + บทบัญญติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ = ผ่านไปก่อน *****

ก่อการร้าย
กระทำความผิดอาญา ดังนี้
1. ใช้กำลัง + กระทำอันตรายต่อชีวิต / ร่างกาย / เสรีภาพ ( บุคคลใดๆ )
2. กระทำให้เกิดความเสียหายร้ายแรง = ขนส่งสาธารณะ / โทรคมนาคม / โครงสร้างพื้นฐานปย.สาธารณะ
3. กระทำการเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด / บุคคลใด / สิ่งแวดล้อม ( น่าจะเสียหายทางเศรษฐกิจ )


หลัก
มีความมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญ / บังคับ = รัฐบาลไทย, รัฐบาลต่างปรเทศ , องค์การระหว่างประเทศ ก่อการร้าย
ให้กระทำ / ไม่กระทำ = เกิดความเสียหายร้ายแรง / ปั่นป่วน + กลัว
เว้น
เดินขบวน / ชุมนุม / ประท้วง ( ให้ได้รับความเป็นธรรม + เสรีภาพตามรธน. ) = ไม่ผิดฐานก่อการร้าย

ผู้ใด 1. ขู่ว่าจะก่อการร้าย + มีพฤติการณ์ว่าจะทำจริง
2. สะสมกำลังพล / อาวุธ / ฝึกการก่อการร้าย ( รวบรวมทรัพย์สิน ) / สมคบ / ยุยงให้มามีส่วนก่อ / ปกปิดการก่อการร้าย

*** ผู้สนับสนุนความผิดหมวดนี้ = ตัวการ ***
เป็นสมาชิกของ = คณะมนตรีบุคคล ( คณะความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ ) ก่อการร้าย + รัฐบาลไทยได้ประกาศให้ความรับรองมติ / ประกาศด้วย

ความผิดต่อเจ้าพนักงาน

ดูหมิ่น จพง = ทำตามหน้าที่ / เพราะได้ทำ
แจ้งข้อความเป็นเท็จ จพง. ( ผู้อื่น / ประชาชนเสียหาย )

ต่อสู้ / ขัดขวาง จพง. / ผู้ต้องช่วยเหลือพนง.ตามกฎหมายในการปฏิบัติหน้าที่
ว.2 = ใช้กำลัง / ขู่จะใช้

ข่มขืนใจ จพง. ให้ปฏิบัติ มิชอบด้วยหน้าที่ ใช้กำลัง / ขู่ว่าจะใช้
ให้ละเว้น ตามหน้าที่


ความผิดม.138 ว.2 / ม.139 มี ใช้อาวุธ / 3 คนขึ้นไป
อ้างอั้งยี่ / ซ่องโจร ( มีหรือไม่ )
มี / ใช้ = ปืน / ระเบิด

ทำให้สห. = ตรา / เครื่องหมาย ( จพง.ประทับไว้ตามหน้าที่ ) เพื่อยึด / อายัด

ทำให้สห. / เอาไป = ทรัพย์สินที่ จพง. / คนอื่นยึดไว้ / รักษาไว้ ( ส่งเป็นพยาน )


เรียก / รับ / ยอมจะรับ = ทรัพย์สิน / ปย.อื่นใด ( ตอบแทนในการจูงใจ / ได้จูงใจ จพง. ) วิธีทุจริต / ผิดกฎหมาย / อิทธิพล
( *** กระทำการ / ไม่กระทำการ ในหน้าที่คุณ / โทษ แก่บุคคลใด*** )


ให้ / ขอให้ / รับว่าจะให้ = ทรัพย์สิน / ปย. อื่นใด แก่ จพง. ( จูงใจ )
( กระทำ / ไม่กระทำการ / ประวิงการกระทำ อันมิชอบด้วยหน้าที่ )


แสดงตนเป็นเจ้าพนักงาน + กระทำการเป็นจพง. ( ตนเองมิได้เป็น )
จพง. ได้รับคำสั่งมิให้ปฎิบัติตามตำแหน่ง = ยังฝ่าฝืนทำ


ไม่มีสิทธิสวมเครื่องแบบ, ประดับ จพง. / ไม่มีสิทธิใช้ยศ, ตำแหน่ง ( เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ) กระทำให้เชื่อว่าตนมีสิทธิ





ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ ( เป็นเจ้าพนักงาน / สมาชิกสภานิติบัญญัติ /
สภาจังหวัด / สมาชิกสภาเทศบาล)


ซื้อ / ทำ / จัดการ / รักษาทรัพย์ใด เบียดบังเป็นของตน / ผู้อื่น / ยอมให้ผู้อื่นเอา ( ทุจริต )
ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยมิชอบ ( ข่มขืนใจ / จูงใจ ) บุคคล มอบให้ / หามาให้ซึ่งทรัพย์สิน แก่ตนเอง / ผู้อื่น
เรียก / รับ / ยอมจะรับ ทรัพย์สิน / ปย.อื่นใด แก่ตนเอง / ผู้อื่น กระทำ / ไม่กระทำการ ในตำแหน่ง ( ชอบ / มิชอบ )
ทำ / ไม่ทำ ( เห็นแก่ทรัพย์สิน ) ได้เรียก / รับ ก่อนได้รับแต่งตั้ง
ซื้อ / ทำ / จัดการ / รักษา ทรัพย์ใดๆ ( ใช้อำนาจในตำแหน่งโดยทุจริต ) เสียหายแก่รัฐ / เทศบาล / เจ้าของทรัพย์
จัดการ / ดูแลกิจการใด เข้ามีส่วนได้เสียเพื่อปย. ตน / ผู้อื่น
มีหน้าที่จ่ายทรัพย์ จ่ายเกินกว่าที่ควรจ่าย ( เพื่อปย.ตน / ผู้อื่น )
มีหน้าที่เรียกเก็บ / ตรวจสอบภาษี – ค่าธรรมเนียม ละเว้น / เก็บ ( ทุจริต ) / ทำ,ไม่ทำคนอื่นมิต้องเสีย / เสียน้อย
มีหน้าที่กำหนดราคาเพื่อเก็บภาษี กำหนดราคาเพื่อให้ผู้เสียเสียน้อยลง / ไม่เสีย ( ทุจริต )
มีหน้าที่ตรวจสอบบัญชี ( แนะนำ / ทำ / ไม่ทำ ) ละเว้นการลงบัญชี / ลงเท็จ / แก้ไขบัญชี / ทำหลักฐาน = ไม่เสียภาษี / น้อยลง
*** ปฏิบัติ / ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ เพื่อให้เกิดความเสียหายผู้หนึ่งผู้ใด ***
ปฏิบัติ / ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่โดยทุจริต
ทำให้เสียหาย / ทำลาย / ซ่อน / เอาไป / สูญหาย / ไร้ปย ทรัพย์ / เอกสาร ( มีหน้าที่รักษาไว้ ) / ยอมให้คนอื่นทำ

มีหน้าที่ดูแล / รักษา ทรัพย์ / เอกสาร ( กระทำมิชอบด้วยหน้าที่ ) ถอน / ทำ / ทำลาย / ยอมให้คนอื่นทำ = ตรา / เครื่องหมาย
( จพง. ประทับ / หมายไว้ที่ทรัพย์ ตามหน้าที่ )
มีหน้าที่รักษา / ใช้ = ดวงตรา ( ราชการ ) ทำมิชอบโดยใช้ดวงตรา / ยอมให้คนอื่นทำ ( คนอื่น / ปชช เสียหาย )

มีหน้าที่ ทำ / กรอก / ดูแล เอกสาร ปลอม ( อาศัยโอกาสที่มีตำแหน่ง )

มีหน้าที่ ทำ / รับ / กรอก ทำดังนี้ 1. รับรองเป็นหลักฐาน = ตนทำ / ทำหน้าตน อันเป็นความเท็จ
2. รับรองเป็นหลักฐาน = ได้มีการแจ้งโดยที่ไม่มีการแจ้ง
3. ละเว้นไม่จด ( มีหน้าที่ต้องรับจด ) / จดเปลี่ยนแปลง
4. รับรองเป็นหลักฐาน = ข้อเท็จจริงเอกสารมุ่งพิสูจน์ความเท็จ
มีหน้าที่ในการไปรษณีย์ / โทรเลข / โทรศัพท์ ทำมิชอบด้วยหน้าที่ดังนี้
1. เปิด / ยอมคนอื่นเปิด
2. ทำให้เสียหาย / ทำลาย / ยอมให้คนอื่นทำลาย,สูญหาย
3. กัก / ส่งให้ผิดทาง / รู้ว่าไม่ใช่ยังส่ง ( ผู้ควรรับ )
4. เปิดเผยข้อความในนั้น

รู้ / อาจรู้ ความลับในราชการ กระทำมิชอบให้คนอื่นล่วงรู้ความลับ

มีหน้าที่ปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมาย / คำสั่งบังคับเป็นไปตามกฎหมาย ป้องปัน / ขัดขวาง มิให้การเป็นไปตามกฎหมาย / คำสั่ง

ละทิ้งงาน / กระทำให้งานหยุด / ชะงัก ( ร่วม 5 คนขึ้นไป )
ทำลงเพื่อเปลี่ยนแปลงกฎหมายแผ่นดิน / บังคับรัฐบาล / ข่มขู่ประชาชน
ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม

ให้ / ขอให้ / รับว่าจะให้ ( ทรัพย์สิน / ปย.อื่นใด ) จพง.ตุลาการ / อัยการ / พงส ไม่กระทำการ / กระทำ มิชอบด้วยหน้าที่

ขัดขืนคำบังคับ ( อัยการ / ผู้ว่าคดี / พงส ) มาให้ถ้อยคำ
ส่ง / จัดการส่งทรัพย์ , เอกสาร / สาบาน / ให้ปฎิญาณ

ขัดขืนหมาย / คำสั่งศาล มาให้ถ้อยคำ / เบิกความ / ส่งทรัพย์ , เอกสาร ( การพิจารณาคดี )
ขัดขืนคำสั่งของศาล ให้สาบาน / ให้ปฏิญาณ

แจ้งข้อความเท็จ ( อัยการ / พงส / จพง. ผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา ) ความผิดอาญา ( ผู้อื่น / ประชาชนเสียหาย )
รู้ว่ามิได้มีการทำผิด แจ้ง ( พงส. / ผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา ) ว่ามีการทำผิด
แจ้ง 2 ความผิดด้านบน แกล้งให้ถูกบังคับตามวิธีการเพื่อความปลอดภัย
ว.2 = ให้รับโทษ / รับโทษหนักขึ้น

เอาความเท็จฟ้องศาล กระทำผิดอาญา / แรงกว่าที่เป็นจริง
( ลุแก่โทษ + ถอนฟ้อง / แก้ฟ้อง ก่อนศาลพิพากษา = ศาลลงน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนด / ไม่ลงโทษเลยได้ )

เบิกความเท็จในการพิจารณาคดีต่อศาล ( ความเท็จ = ข้อสำคัญในคดี )
ว.แรก = กระทำในคดีอาญา

จพง. ตำแหน่งตุลาการ / อัยการ / พงส. ให้แปลข้อความแล้วแปลผิดไปในข้อสำคัญ

ทำพยานเท็จ ( พงส. / ผู้มีอำนาจสอบสวนคดีอาญา ) เชื่อว่าได้มีความผิดอาญาเกิดขึ้น / ร้ายแรงกว่าจริง

นำสืบ / แสดง ( พยานเท็จ = ในการพิจารณาคดี ) ข้อสำคัญในคดี
ว.แรก = กระทำในคดีอาญา

แจ้งเท็จ / ฟ้องเท็จ / เบิกความเท็จ / แปลเท็จ / นำสืบพยานเท็จ 1. โทษจำคุก 3 ปีขึ้นไป
2. โทษประหารชีวิต / จำคุกตลอดชีวิต

เบิกความเท็จ / แปลเท็จ ลุแก่โทษ + แจ้งความจริงต่อศาล / จพง. ( ก่อนจบคำเบิกความ / แปล ) = ไม่ต้องรับโทษ
เบิกความเท็จ / แปลเท็จ / นำสืบพยานเท็จ ลุแก่โทษ + แจ้งความจริงต่อศาล / จพง. ก่อนมีคำพิพากษา+ก่อนตนถูกฟ้องในความผิดที่ทำ


ลงโทษน้อยกว่าที่กฎหมายหำหนด




ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม ( 2 )

ช่วยมิให้รับโทษ / รับโทษน้อยลง ( เสียหาย / ทำลาย / ซ่อน / เอาไปเสีย / หาย ) พยานหลักฐานในการกระทำความผิด
เสียหาย / ทำลาย / ซ่อน / เอาไปเสีย / หาย ทรัพย์ / เอกสาร ( ส่งไว้ต่อศาล / ศาลรักษาไว้ )
ทรัพย์สินที่มีคำพิพากษาให้ริบ

เสียหาย / ทำลาย / ซ่อน / เอาไปเสีย / หาย ทรัพย์ที่ถูกอายัด / ยึด / น่าจะรู้ว่าถูกอายัด ( มิให้เป็นไปตามคำพิพากษา )

*** เสียหาย / ทำลาย / ซ่อน / เอาไปเสีย / หาย พินัยกรรม / เอกสารอันใด ( ผู้อื่น ) = น่าจะเสียหายแก่ผู้อื่นหรือประชาชน ***

หลบหนี / ช่วยเหลือ

ช่วย ผู้ทำผิด / ผู้ต้องหา ( มิใช่ลหุโทษ ) เพื่อมิให้ต้องโทษ ให้ที่พำนัก ( ซ่อน / ช่วย = มิให้ถูกจับกุม )

หลบหนีระหว่างที่ถูกคุมขัง ( ตามอำนาจศาล / อัยการ / พงส ผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา )
ว.2 = ทำข้างบนโดย 1. แหกที่คุมขัง ( ใช้กำลัง / ขู่จะใช้ )
2. ร่วมทำ 3 คนขึ้นไป
ว.3 = ทำมาตรานี้โดย มี,ใช้ = ปืน / ระเบิด

กระทำด้วยประการใด ผู้ถูกคุมขัง ( ศาล / อัยการ / พงส / เจ้าพนง.ผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา ) = หลุดพ้นจากการคุมขัง
ว.2 = บุคคลที่หลุดไปลงโทษ ประหารชีวิต / จำคุกตลอดชีวิต / 15 ปีขึ้นไป / หลุด 3 คนขึ้นไป
ว.3 = ทำมาตรานี้ 1. ใช้กำลัง / ขู่จะใช้
2. มี,ใช้ = ปืน / ระเบิด

ให้พำนัก / ซ่อน / ช่วยประการใด ผู้หลบหนีจากการคุมขัง ( พงส. / เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา ) = มิให้ถูกจับ

ทำลายพยาน / ช่วยมิให้ถูกจับ / ให้ที่พำนัก ช่วย บิดา / มารดา / บุตร / สามีภรรยาผู้กระทำ = ศาลไม่ลงโทษก็ได้

เล็กๆ น้อยๆ

ต้องคำพิพากษาห้ามเข้าเขตกำหนด ( ม.45 ) = เข้าไปในเขต
หลบหนีจากสถานพยาบาลศาลคุมตัวไว้ ( ม.49 )
ฝ่าฝืนคำสั่งห้ามของศาล ( สั่งในคำพิพากษา ) ( ม.50 )
ใช้กำลัง / ขู่จะใช้ / ให้ปย. / รับปย. กีดกันการขายทอดตลาด ( ตามคำพิพากษา / คำสั่งของศาล )

*** ดูหมิ่นศาล / ผู้พิพากษา ( ในการพิจารณาคดี / พิพากษาคดี ) / ขัดขวางการพิจารณา / พิพากษาของศาล ***
ลอบฝัง / ซ่อน / ย้าย / ทำลาย = ศพ / ส่วนของศพ เพื่อปิดบังการเกิด / ตาย / เหตุการณ์ตาย
ความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม

เป็นจพง. ( อัยการ / ผู้ว่าคดี / พงส. / จพงผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา,จัดการให้เป็นไปตามหมายอาญา )

กระทำการ / ไม่กระทำ ในตำแหน่งอันมิชอบ
เรียก / รับ / ยอมจะรับ ทรัพย์สิน,ปย.อื่นใด
( ตนเอง / ผู้อื่น เพื่อกระทำ / ไม่กระทำ
เพื่อช่วยบุคคลมิให้ต้องรับโทษ / น้อยลง อย่างใดในตำแหน่ง ( ชอบ / มิชอบ )


ว.2 = แกล้งบุคคลต้องรับโทษ / หนักขึ้น / วิธีการเพื่อความปลอดภัย


เป็นเจ้าพนักงาน ( ตุลาการ / อัยการ / ผู้ว่าคดี / พงส. ) กระทำ / ไม่กระทำ ในตำแหน่ง( เห็นแก่ทรัพย์สินที่ตนเรียก / ได้รับ ก่อนแต่งตั้ง )

เป็นเจ้าพนักงาน ( มีหน้าที่ปฏิบัติการให้เป็นไปตามคำพิพากษา / คำสั่งของศาล ) ป้องกัน / ขัดขวางมิให้เป็นไปตามคำพิพากษา / คำสั่ง


เป็นเจ้าพนักงาน ( ควบคุมดูแลผู้คุมขังตามอำนาจศาล / พงส / จพง.ผู้มีอำนาจสืบสวนคดีอาญา ) กระทำประการใดให้ผู้คุมขังหลุดไป
ว.2 = คนที่หลุดไป ประหาร / จำคุกตลอดชีวิต / 15 ปีขึ้น / 3 คนขึ้นไป ( ระหว่างคุมขัง )

กระทำข้างบน ( ประมาท )
ว.2 = ประหาร / จำคุกตลอดชีวิต / 15 ปีขึ้น / 3 คนขึ้นไป
ว.3 = ผู้ทำผิดจัดให้ได้ตัวผู้ที่หลุดพ้นไป ใน 3 เดือน = งดการลงโทษ

ศาสนา

กระทำประการใด วัตถุ / สถานที่เคารพในทางศาสนา ( เหยียดหยามศาสนา )
ก่อให้เกิดการวุ่นวาย ที่ประชุมศาสนิกชนเวลาประชุม นมัสการ พิธีกรรมทางศาสนา ( ชอบด้วยกฎหมาย )
แต่งกาย / ใช้เครื่องหมาย แสดงว่า ภิกษุ / สามเณร / นักพรต / นักบวช ( ศาสนาใด ) โดยมิชอบ ( เพื่อให้คนอื่นเชื่อว่าเป็น )








ความสงบสุขของประชาชน

เป็นสมาชิกคณะบุคคล ปกปิดวิธีดำเนินการ + มีความมุ่งหมายการอันมิชอบด้วยกฎหมาย = อั้งยี่
ว.2 = เป็นหัวหน้า / ผู้จัดการ / ผู้มีตำแหน่งหน้าที่ในคณะบุคคลนั้น

สมคบ 5 คน + ทำผิดในภาค 2 ( โทษ 1 ปีขึ้นไป ) = ซ่องโจร
สมคบ = โทษประหารชีวิต / ตลอดชีวิต / 10 ปีขึ้น

ประชุมในที่ประชุมอั้งยี่ / ซ่องโจร = กระทำผิดอั้งยี่ / ซ่องโจร ( เว้นประชุมโดยไม่รู้ว่าเป็นอั้งยี่ / ซ่องโจร )

ผู้ใด 1. จัดหาที่ประชุม / ที่พำนัก = อั้งยี่ / ซ่องโจร
2. ชักชวนบุคคลให้เข้าเป็นสมาชิก อ / ซ กระทำผิดอั้งยี่ / ซ่องโจร
3. อุปการะ อ / ซ โดยให้ทรัพย์
4. ช่วยจำหน่ายทรัพย์ ( อ / ซ ) ได้มาโดยการกระทำความผิด

สมาชิก ( อ / ซ ) คนหนึ่งกระทำความผิดตามความมุ่งหมาย อยู่ด้วย / อยู่ในที่ประชุมแต่ไม่คัดค้าน / หัวหน้า / ผจก = โดนทุกคน

จัดหาที่พัก / ที่ซ่อนเร้น / ที่ประชุมให้บุคคลที่ตนรู้ว่าเป็นบุคคลผู้ทำผิดบัญญัติไว้ในภาค 2
ว.2 = ทำเพื่อช่วยบิดา / มารดา / บุตร / สามี,ภรรยา ผู้กระทำ = ศาลไม่ลงโทษก็ได้

มั่วสุม 10 ขึ้น + ใช้กำลัง / ขู่เข็ญ / กระทำการวุ่นวายขึ้นในบ้านเมือง
คนใดคนหนึ่งมีอาวุธ บรรดาผู้กระทำความผิดโดนหมด
หัวหน้า / ผู้มีหน้าที่สั่งการ ในการกระทำความผิด

จพง. สั่งผู้มั่วสุมเพื่อกระทำ ม. 215 ให้เลิก ผู้ใดไม่เลิก

















ก่อให้เกิดภยันตรายต่อประชาชน

วางเพลิงเผาทรัพย์ ผู้อื่น

วางเพลิงทรัพย์ ดังนี้ 1. โรงเรือน / เรือ / แพที่คนอยู่อาศัย
2. โรงเรือน / เรือ / แพที่เก็บสินค้า
3. โรงมหรสพ / สถานที่ประชุม
4. โรงเรือนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน / สาธารณสถาน / สถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
5. สถานีรถไฟ / ท่าอากาศยาน / ที่จอดรถ เรือ สาธารณะ
6. เรือลไฟ / เรือยนต์ ( 5 ตันขึ้น ) / รถไฟ ( ขนส่งสาธารณะ )

ตระเตรียมทำผิด ( ข้างบน ) ระวางโทษพยายาม

ทำให้เพลิงไหม้ ( วัตถุใด ) แม้ของตนเอง น่าจะเป็นอันตรายแก่คนอื่น / ทรัพย์คนอื่น
ว.2 = เป็นเหตุให้เกิดเพลิงไหม้ ทรัพย์ 1-6 ( ระวางโทษ ม. 218 )

ทำให้เกิดระเบิด น่าจะเป็นอันตรายแก่คนอื่น / ทรัพย์คนอื่น
ทำให้เกิดระเบิด กับทรัพย์ผู้อื่น / 1-6

ทำให้ เพลิงไหม้ / ระเบิด / น่าจะ ทรัพย์ราคาน้อย + ไม่เป็นอันตรายแก่บุคคลอื่น

เพลิงไหม้ / ระเบิด ( 2 มาตรา ) บุคคลอื่นตาย
ว.2 = สาหัส

เพลิงไหม้ โดยประมาท + ทรัพย์ผู้อื่นเสียหาย
น่าจะเป็นอันตรายแก่ชิวิตบุคคลอื่น












ทั่วไป

กระทำต่อ โรงเรือน / อู่เรือ / ที่จอดรถ / ทุ่นทอดจอดเรือ / สายไฟฟ้า ( ป้องกันอันตรายแก่บุคคล / ทรัพย์ ) = น่าจะอันตรายแก่คนอื่น

มีวิชาชีพออกแบบ / ก่อสร้าง / ซ่อม / ถอน = อาคาร ( ไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ) น่าจะอันตรายกับคนอื่น

กระทำให้เกิดอุทกภัย / ขัดข้องการใช้น้ำ น่าจะอันตรายกับคนอื่น / ทรัพย์คนอื่น
ว.2 = เกิดอันตรายกับคนอื่น / ทรัพย์คนอื่น

กระทำด้วยประการใด ทางสาธารณะ / ประตูน้ำ / เขื่อน / ที่ขึ้นลงอากาศยาน = น่าจะเป็นอันตรายแก่การจราจร

เอาสิ่งใดๆ กีดขวางทางรถไฟ / ทำให้รางหลุด / หลวม / ทำแก่เครื่องสัญญาณ = น่าจะเป็นอันตรายแก่การเดินรถไฟ / รถราง

กระทำประการใด ประภาคาร / สัญญาณเพื่อความปลอดภัย ( บก / เรือ / อากาศ ) = น่าจะอันตรายแก่การจราจร ( บก / เรือ / อากาศ )

กระทำประการใด 1. เรือเดินทะเล / อากาศยาน / รถไฟ
2. รถยนต์ใช้ขนส่งสาธารณะ น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่บุคคล
3. เรือกลไฟ / เรือยนต์ ( 5 ตันขึ้นไป ) ขนส่งสาธารณะ

** ใช้ยานพาหนะรับจ้างขนส่งคน ( มีลักษณะ / การบรรทุก = น่าจะเป็นอันตรายแก่บุคคลในยานพาหนะนั้น **

กระทำประการใด สิ่งที่ใช้ผลิตส่งพลังงานไฟฟ้า / ส่งน้ำ = ประชาชนขาดความสะดวก / น่าจะอันตรายแก่ประชาชน

กระทำประการใด ให้การสื่อสารสาธารณะ ( ไปรษณีย์ / โทรเลข / โทรศัพท์ / วิทยุ ) = ขัดข้อง

*** ปลอมปน ( อาหาร / ยา / เครื่องอุปโภค บริโภค ) เพื่อบุคคลอื่นเสพ / ใช้ + เป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่สุขภาพ ***
จำหน่าย / เสนอขาย ( เพื่อบุคคลเสพ / ใช้ )

เอาของมีพิษ / สิ่งที่อันตราย เจือลงในอาหาร / น้ำในบ่อ / สระ / อาหาร น้ำ จัดไว้ให้ประชาชนบริโภค

บททั่วไป คนอื่นถึงแก่ความตาย
ว.2 = สาหัส

บททั่วไป ประมาท + ใกล้จะอันตรายแก่ชีวิตคนอื่น








ความผิดเกี่ยวกับเงินตรา

ปลอม เงินตรา ( เพื่อเป็นเหรียญ / ธนบัตร ) รัฐบาลออกใช้ ปลอมเงินตรา
พันธบัตรรัฐบาล ใบสำคัญสำหรับรับดอกเบี้ยพันธบัตร

แปลง เงินตรา ( เพื่อเป็นเหรียญ / ธนบัตร ) รัฐบาลออกใช้ แปลงเงินตรา
( ผิดจากเดิม ) พันธบัตรรัฐบาล ใบสำคัญสำหรับรับดอกเบี้ยพันธบัตร
( ให้ผู้อื่นเชื่อว่ามีมูลค่าสูงกว่าจริง )

กระทำให้เหรียญกษาปณ์ ( ทุจริต ) มีน้ำหนักลดลง
ว.2 = นำเข้าในราช / นำออกใช้ / มีไว้เพื่อนำออก ( เหรียญที่มีน้ำหนักลดลง )

นำเข้า ( ปลอม ม.240 / แปลง ม.241 )
มีไว้เพื่อนำออกใช้อันตนรู้ว่าเป็นของ ( ปลอม ม.240 / แปลง ม.241 )

ได้มาซึ่งสิ่งใดๆ โดยไม่รู้ ( ปลอม / แปลง ) ต่อมารู้ ก็ยังขืนนำออกใช้

ทำเครื่องมือ / วัตถุ สำหรับ ปลอม / แปลง เงินตรา ( เพื่อเป็นเหรียญ / ธนบัตร ) รัฐบาลออกใช้
มีเครื่องมือเพื่อใช้ในการปลอม / แปลง พันธบัตรรัฐบาล ใบสำคัญสำหรับรับดอกเบี้ยพันธบัตร

ทำหมวดนี้ต่อ เงินตรา ( เพื่อเป็นเหรียญ / ธนบัตร ) รัฐบาลออกใช้ ( รัฐบาลต่างประเทศ ) = รับโทษกึ่งหนึ่งของโทษมาตรา )
พันธบัตรรัฐบาล ใบสำคัญสำหรับรับดอกเบี้ยพันธบัตร

กระทำ ปลอม / แปลง / รัฐบาลต่างประเทศ กระทำผิดมาตราอื่นด้วยในหมวดนี้ = ให้ลงโทษ ใน ม. 240 241 247 ( กระทงเดียว )

ทำบัตร / โลหธาตุ ( มีลักษณะคล้ายคลึงกับเงินตรา = เงินตรา ( เพื่อเป็นเหรียญ / ธนบัตร ) รัฐบาลออกใช้
จำหน่ายบัตร / โลหธาตุ พันธบัตรรัฐบาล ใบสำคัญสำหรับรับดอกเบี้ยพันธบัตร
ว.2 = การจำหน่าย โดยการนำออกใช้ดังเช่นสิ่งใดๆ ในวรรคแรก










แสตมป์ ผ่านไป

ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร

ทำเอกสารปลอม ( ทั้งฉบับ / บางส่วน ) / เติม ตัด แก้ไขทอนข้อความในเอกสารที่แท้จริง / ประทับตราปลอม / ลงชื่อปลอม ในเอกสาร
( *** ประการน่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น / ประชาชน *** )

ทำเพื่อให้ผู้หนึ่งผู้ใดหลงเชื่อว่าเป็นเอกสารที่แท้จริง = ปลอมเอกสาร

ว.2 = กรอกข้อความในกระดาษ มีลายมือชื่อผู้อื่นโดยไม่ได้รับความยินยอม / ฝ่าฝืนคำสั่งผู้อื่น



เพื่อเอาเอกสารไปใช้ในกิจการที่อาจเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด / ประชาชน = ปลอมเอกสาร ( ระวางโทษเช่นเดียวกัน )

ปลอม เอกสารสิทธิ / เอกสารราชการ

ปลอม 1. เอกสารสิทธิอันเป็นเอกสารราชการ
2. พินัยกรรม
3. ใบหุ้น / ใบหุ้นกู้ / ใบสำคัญของใบหุ้นหรือใบหุ้นกู้
4. ตั๋วเงิน
5. บัตรเงินฝาก

แจ้งให้ จพง. / ผู้กระทำตามหน้าที่ จดข้อความเท็จในเอกสารมหาชน / เอกสารราชการ ( เป็นพยานหลักฐาน )
( *** ประการน่าจะเสียหายแก่ผู้อื่น / ประชาชน *** )

ใช้ / อ้าง เอกสารอันเกิดจากการกระทำความผิด มาตรา 264 265 266 267 ( *** น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น *** )
ว.2 = ผู้ทำผิดวรรคแรก = เป็นผู้ปลอม / แจ้งให้ จพง. จด ( ลงโทษตามมาตรานี้แต่กระทงเดียว )

ประกอบอาชีพ แพทย์ / กฎหมาย / บัญชี ทำคำรับรองเอกสารเป็นเอกสารอันเป็นเท็จ
( *** ประการน่าจะเสียหายแก่ผู้อื่น / ประชาชน *** )
ว.2 = ใช้ /อ้าง คำรับรอง ( โดยทุจริต )







ความผิดเกี่ยวกับบัตรอิเล็กทรอนิกส์
ทำบัตร อ. ปลอมขึ้น ( ทั้งฉบับ / ส่วนหนึ่งส่วนใด ) / เติม ตัดทอนข้อความ แก้ไขในบัตร อ. ที่แท้จริง
( *** ประการน่าจะเสียหายแก่ผู้อื่น / ประชาชน *** )

กระทำให้ผู้หนึ่งผู้ใดเชื่อว่าเป็นบัตร อ. แท้จริง / เพื่อใช้ปย. อย่างหนึ่งอย่างใด = ปลอมบัตรอิเล็กทรอนิกส์

ทำเครื่องมือ / วัตถุ ( สำหรับปลอม / แปลง / ให้ได้ข้อมูลในการปลอม แปลงซึ่งมาตราบน )
มีเครื่องมือ / วัตถุ = เพื่อให้ได้ข้อมูลในการปลอม / แปลง

นำเข้าใน / ส่งออกนอก ( สิ่งใดๆ ในข้างบน )

ใช้ / มีไว้เพื่อใช้ ( บัตร อ. บนสุด ) อันได้มาโดยรู้ว่าเป็นของปลอม / แปลงขึ้น
ว.2 = จำหน่าย / มีไว้เพื่อจำหน่าย ( สิ่งใดๆ ที่ทำปลอมหรือแปลง ม. 269 /1 )
ว.3 = ผู้ทำผิดวรรคแรก / วรรคสอง เป็นผู้ปลอมบัตร อ. ( ลงโทษมาตรานี้กระทงเดียว )

ใช้บัตร อ. ของผู้อื่นโดยมิชอบ
( *** ประการน่าจะเสียหายแก่ผู้อื่น / ประชาชน *** )

มีไว้เพื่อนำออกใช้บัตร อ. ของผู้อื่นโดยมิชอบ
( *** ประการน่าจะเสียหายแก่ผู้อื่น / ประชาชน *** )


การทำในหมวดนี้ ทำกับบัตร อ. ที่ผู้ออกได้ออกให้แก่ผู้มีสิทธิใช้เพื่อใช้ปย. ในการชำระสินค้า / ค่าบริการ / หนี้อื่นแทนชำระเงินสด
( ระวางโทษหนักกว่าที่บัญญัติไว้ในมาตรานั้นๆ กึ่งหนึ่ง ) ใช้เบิกถอนเงินสด
















ความผิดเกี่ยวกับการค้า

ใช้ / มีไว้เพื่อใช้ เครื่องชั่ง / เครื่องตวง / เครื่องวัด ( ที่ผิดอัตราเพื่อเอาเปรียบในการค้า )
มีเครื่องนี้เพื่อขาย

ขายของโดยหลอกลวง ให้ผู้ซื้อหลงเชื่อในแหล่งกำเนิด สภาพ คุณภาพ ปริมาณ เป็นความเท็จ ( การกระทำไม่เป็นความผิดฐานฉ้อโกง )

ผู้ใด 1. เอาชื่อ รูป รอยประดิษฐ์ ข้อความในการประกอบการค้าของผู้อื่นมาใช้ / ทำให้ปรากฎที่สินค้า
*** เพื่อให้ประชาชนเชื่อว่าเป็นสินค้าของผู้อื่น ***
2. เลียนป้าย = ประชาชนน่าจะเชื่อว่าสถานที่การค้าของตนเป็นสถานที่การค้าของผู้อื่นที่ตั้งใกล้เคียง
3. ไขข่าวแพร่หลาย = ข้อความเท็จเพื่อให้เสียความเชื่อถือในสถานที่การค้า / สินค้า / อุตสาหกรรม **มุ่งปย. การค้าของตน **
*** มาตรานี้ยอมความได้ ***

ปลอมเครื่องหมายการค้าผู้อื่น ( จดทะเบียนแล้ว ใน / นอก )
เลียนเครื่องหมายการค้าผู้อื่น ( จดทะเบียนแล้ว ใน / นอก ) *** เพื่อให้ประชาชนหลงเชื่อว่าเป็นเครื่องหมายการค้าของผู้อื่น ***

นำเข้าในราช / จำหน่าย / เสนอจำหน่าย = สินค้าที่มีชื่อ รูป / รอยประดิษฐ์ / ข้อความใดๆ ใน 1. / สินค้าทีมีเครื่องหมายการค้าปลอม / เลียน
( 2 ความผิดข้างบน )


ความผิดเกี่ยวกับเพศ


ข่มขืนกระทำชำเรา ญ อื่น ( มิใช่ภรรยาตน ) ขู่เข็ญด้วยประการใดๆ ญ ไม่สามารถขัดขืนได้ / ญ เข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอื่น
โดยใช้กำลังประทุษร้าย
ว.2 = มี ใช้ ปืน ระเบิด / โทรมหญิง

กระทำชำเรา เด็กหญิง ไม่เกิน 15 + มิใช่ภรรยาตน + ยอมหรือไม่ก็ตาม
ว.2 = เด็กไม่เกิน 13
ว.3 = โทรม ญ + เด็กไม่ยอม ( ว.1,2 ) / มีอาวุธปืน,ระเบิด / โดยใช้อาวุธ
ว.4 = ว.แรก เด็กหญิง 13 ไม่เกิน 15 + เด็กยอม + ศาลอนุญาตให้สมรสกัน = ไม่ต้องรับโทษ / รับโทษอยู่ปล่อยตัวไป

กระทำ 2 ความผิด ม. 276, ม.277 ว.1 2 1. สาหัส
2. ตาย
กระทำความผิด ม.276 ว.2, ม.277 ว.3 1. สาหัส
2. ตาย

อนาจาร

กระทำอนาจาร บุคคลกว่า 15 ปี ขู่เข็ญด้วยประการใดๆ บุคคลนั้นไม่สามารถขัดขืนได้ / บุคคลนั้นเข้าใจผิดว่าตนเป็นคนอื่น
โดยใช้กำลังประทุษร้าย

กระทำอนาจาร เด็กไม่เกิน 15 + เด็กยอมหรือไม่
ว.2 = ขู่เข็ญประการใดโดยใช้กำลังประทุษร้าย = ขัดขืนไม่ได้ / เข้าใจผิด

กระทำความผิด ม. 278 279 ( อนาจาร ) สาหัส
ตาย

กระทำความผิดมาตรา 276 ว.แรก + ม.278 ( อนาจาร 15 ขึ้น ) มิได้เกิดต่อหน้าธารกำนัล
ไม่เป็นเหตุให้ผู้กระทำสาหัส,ตาย ยอมความได้
มิได้ทำแก่บุคคลดังระบุไว้ในมาตรา 285

สนองความใคร่

เพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น เป็นธุระ / จัดหา / ล่อไป / พาไป ( อนาจาร ช / ญ ) *** แม้ผู้นั้นจะยินยอมก็ตาม ***
ว.2 = เกิน 15 ไม่เกิน 18
ว.3 = เด็กไม่เกิน 15
ว.4 = เพื่อสนองความใคร่ผู้อื่น รับตัวบุคลที่มีผู้จัดหา / ล่อไป / พาไป ( ว.123 ) รับโทษ ใน ว.123 ( ตามที่ทำ )

เพื่อสนองความใคร่ของผู้อื่น เป็นธุระ / จัดหา / ล่อไป / พาไป ( อนาจาร ช / ญ ) โดยใช้อุบาย หลอกลวง ขู่เข็ญ ใช้กำลัง ใช้อำนาจ
ว.2 = เกิน 15 ไม่เกิน 18 ข่มขืนใจ
ว.3 = เด็กไม่เกิน 15
ว.4 = เพื่อสนองความใคร่ผู้อื่น รับตัวบุคลที่มีผู้จัดหา / ล่อไป / พาไป ( ว.123 ) รับโทษใน ว.123 ( ตามที่ทำ )

พาไปอนาจาร

พาอายุเกิน 15 แต่ไม่เกิน 18 ไปเพื่อการอนาจาร *** แม้ผู้นั้นจะยอมก็ตาม ***
ว.2 = เด็กไม่เกิน 15 ปี
ว.3 = ซ่อนเร้นบุคคลที่ถูกพาไป ( ว.12 ) ระวางโทษวรรค (1 2 )
ว.4 = ความผิด ว.1 + 3 กระทำแก่บุคคลอายุเกิน 15 ปี

พาผู้อื่นไปเพื่ออนาจาร ( อุบาย / ใช้กำลัง / ใช้อำนาจครอบงำ / ข่มขืนใจ )
ว.2 = ซ่อนเร้นบุคคลที่ถูกพาไปตาม ว.แรก
ว.3 = มาตรานี้ยอมความได้

** ม. 276 / 277 / 277 ทวิ / 277 ตรี / 278 / 279 / 280 / 282 / 283 ท ผู้สืบสันดาน / ศิษย์ในความดูแล /
ผู้ในความควบคุมตามหน้าที่ราชการ
ผู้อยู่ในความปกครอง / ความพิทักษ์ / ความอนุบาล
( ระวางโทษหนักกว่าที่บัญญัติไว้ในมาตรานั้น 1 ใน 3 )
อายุกว่า 16 ปี ดำรงชีพแม้เพียงบางส่วนจากรายได้ ญ ค้าประเวณี
ว.2 = ผู้ใดไม่มีปัจจัยดำรงชีพ / ไม่มีปัจจัยเพียงพอสำหรับดำรงชีพ และ อยู่ร่วมกับ ญ ( ค้า ) / สมาคมกับ ญ คนเดียว / หลายคน
( เป็นอาจิณ )

กินอยู่หลับนอน / รับเงิน / ปย. อย่างอื่น ( ญ (ค้า) จัดให้ )

เข้าแทรกแซงเพื่อช่วย ญ ทะเลาะกับผู้ที่คบ ญ
ถือว่าผู้นั้นดำรงชีพอยู่จากรายได้ของ ญ ค้าประเวณี
เว้น พิสูจน์ให้เป็นที่พอใจว่ามิได้เป็นเช่นนั้น
ว.3 = มาตรานี้ไม่บังคับ ผู้รับค่าเลี้ยงดูจาก ญ ( ตามกฎหมาย / ธรรมจรรยา )

ผู้ใด 1. เพื่อความประสงค์การค้า / ทำ / ผลิต / มีไว้ / นำเข้า / ส่งออก = เอกสาร / ภาพ รูปถ่าย / ภาพยนตร์ *** สิ่งลามก ***
2. ประกอบการค้า / มีส่วนเกี่ยวข้องในการค้าเกี่ยวกับวัตถุลามก / จ่ายแจก / แสดงอวด / ให้เช่า แก่ประชาชน
3. ช่วยทำให้แพร่หลาย / โฆษณา / ไขข่าว ว่ามีคนทำผิดตามมาตรานี้ / หาได้จากบุคคลใด / วิธีใด

บทนิยาม

โดยทุจริต = เพื่อแสวงหาปย.ที่มิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายสำหรับ ตน / ผู้อื่น

สาธารณสถาน = สถานที่ใดๆ ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเข้าไปได้
ทางสาธารณะ = ทางบก / น้ำ ( ประชาชนสัญจร ) + ทางรถไฟ / ทางรถรางที่มีรถเดิน + ประชาชนโดยสาร
เคหสถาน = ที่ใช้อยู่อาศัย เช่น เรื่อน โรงเรือน ฯ

อาวุธ = สิ่งซึ่งไม่เป็นอาวุธโดยสภาพ + ใช้ประทุษร้ายร่างกาย

เอกสาร = กระดาษ / วัตถุ ( ปรากฏความหมายด้วยตัวอักษร / ตัวเลข ฯ ) จะโดยวิธีพิมพ์ภาพถ่าย / วิธีอื่น ( เป็นหลักฐานความหมายนั้น )
เอกสารราชการ = เอกสารที่ จพง. ได้ทำขึ้น / รับรอง ในหน้าที่ + สำเนาที่ จพง. รับรองในหน้าที่ด้วย
เอกสารสิทธิ = เอกสารที่เป็นหลักฐาน ก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สวงน ระงับซึ่งสิทธิ
ลายมือชื่อ = รวมลายพิมพ์นิ้วมือ + เครื่องหมายซึ่งบุคคลลงไว้แทนลายมือชื่อตน

บัตรอิเล็กทรอนิกส์ = เอกสารที่ผู้ออกได้ออกให้แก่ผู้มีสิทธิใช้ ( ระบุชื่อหรือไม่ก็ตาม ) โดยบันทึกข้อมูล / รหัส ไว้ด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการทาง
อิเล็กตรอน ไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า + การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง / แม่เหล็กให้ปรากฏความหมายตัวอักษร ตัวเลข รหัส
หมายเลขบัตร
= ข้อมูล รหัส หมายเลขบัญชี หมายเขชุดทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือเครื่องมือทางตัวเลขใดๆ ที่ผูออกได้ออกแก่ผู้มีสิทธิใช้
โดยมิได้ออกเอกสารหรือวัตถุอื่นใดให้
= สิ่งอื่นใดที่ใช้ประกอบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุตัวบุคคลผู้เป็นเจ้าของ
การใช้กฎหมายอาญา

ต้องรับโทษเมื่อได้กระทำการที่กฎหมายที่ใช้ในขณะกระทำบัญญัติว่าเป็นความผิด + กำหนดโทษไว้ + โทษที่จะลงต้องบัญญัติในกฎหมาย
ว.2 = ถ้ากฎหมายที่บัญญัติภายหลัง การกระทำเช่นนั้นไม่เป็นความผิด = ให้พ้นจากการทำผิด
ถ้ามีคำพิพากษาให้ลงโทษก็ถือว่าไม่เคยต้องคำพิพากษา
รับโทษอยู่ก็ให้การลงโทษสิ้นสุด

กฎหมายที่ใช้ขณะกระทำความผิด แตกต่าง กับที่ใช้ภายหลัง ให้ใช้ในส่วนที่เป็นคุณ ( ไม่ว่าทางใด ) เว้นคดีถึงที่สุดแล้ว
แต่กรณีถึงที่สุดดังนี้
1 . ยังไม่ได้รับโทษ / รับอยู่ + โทษที่กำหนดตามคำพิพากษาหนักกว่ากฎหมายบัญญัติภายหลัง = กำหนดโทษเสียใหม่
( ความปรากฏแก่ศาลเอง / ผู้ทำผิด / ผู้แทน / ผู้อนุบาล / อัยการ = ร้องขอ )



ถ้าปรากฏว่าได้รับมาบ้างแล้ว = คำนึงโทษที่บัญญัติภายหลัง
หากสมควรก็กำหนดโทษน้อยกว่าโทษขั้นต่ำที่กฎหมายบัญญัติภายหลัง
หากสมควรเห็นรับโทษพอแล้ว = ปล่อยตัวไปได้

2. ศาลพิพากษาให้ประหารชีวิต + กฎหมายภายหลังลงไม่ถึงประหารชีวิต = งดการประหาร + ถือว่าประหารตามคำพิพากษาได้เปลี่ยน
เป็นโทษสูงสุดที่จะลงได้ในภายหลัง

ใน – นอก ราชอาณาจักร

ในราชอาณาจักร
กระทำความผิดในราช รับโทษตามกฎหมาย
ว.2 = ในเรือไทย / อากาศยานไทย ( ณ ที่ใด ทำผิดในราชอาณาจักร

แม้ส่วนหนึ่งส่วนใดทำในราช / ผลเกิดในราช ( ผู้กระทำประสงค์ในราช ) / ลักษณะการกระทำ ผลที่เกิดควรเกิดในราช / เล็งเห็นว่าจะเกิดในราช
ว.2 = ตระเตรียมการ / พยายามกระทำการ ( กม. บัญญัติเป็นความผิด ) แม้ทำนอกราช หากทำจนสำเร็จ = ผลจะเกิดในราช


ถือว่ากระทำความผิดในราช / ตระเตรียม / พยายามทำในราช ( ทั้ง 2 วรรค )

ความผิดที่ทำในราช / หรือถือว่าทำในราช ( ตัวการ / ผู้สนับสนุน / ผู้ใช้ ทำนอกราช ) ถือว่าทำในราช

ผู้ใดทำผิดนอกราช ต้องรับโทษในราช 1. ความมั่นคง ( ม.107-129 )
*** ก่อการร้าย ( ม.135/1-4 ) ***
2. ปลอม / แปลง ( ม.240 / 249 /254 /256 /257 / 266(3) (4)
*** เกี่ยวกับเพศ ม. 282 / 283 ***
3. ชิงทรัพย์ / ปล้นทรัพย์ ( ม.339-340 ) กระทำในทะเลหลวง

นอกราชอาณาจักร

ทำผิดนอกราช + 1. ผู้ทำผิด ( คนไทย ) + รัฐบาลปท. ที่ความผิดเกิด / ผสห. + ร้องขอให้ลงโทษ
2. ผู้ทำผิด ( คนต่างด้าว ) + รัฐบาลไทย / คนไทย ( ผสห. ) + ร้องขอให้ลงโทษ


ความผิดดังนี้รับโทษในราช
1. ก่อให้เกิดภยันตราย ม. 217 218 221-223 เว้นแต่ ม. 220 ว.แรก 224 226 228-232 237 233-236 ( เฉพาะเมื่อกรณีต้องระวางโทษ ม.238 )
2. เอกสาร ม. 264 265 266 (1) (2) 268 เว้นแต่ ม. 267 269
*** อิเล็กทรอนิกส์ ม. 269/1-269/7 ***
3. เพศ ม. 276 280 285 เฉพาะ ม. 276
4. ชีวิต ม. 288-290
5. ร่างกาย ม. 295-298
6. ทอดทิ้งเด็ก / คนป่วย / คนชรา ม.306-308
7. เสรีภาพ ม. 309 310 312-315 317-320
8. ลักทรัพย์ วิ่งราวทรัพย์ ม. 334-336
9. กรรโชก รีดเอาทรัพย์ ชิงทรัพย์ ปล้นทรัพย์ ม. 337-340
10. ฉ้อโกง ม. 341-344 346 347
11. ยักยอก ม. 352-354
12. รับของโจร ม. 357
13. เสียทรัพย์ ม. 358-360


เจ้าพนักงานของรัฐบาลไทย ทำความผิด ม. 147-166 และ ม.200-205 นอกราชอาณาจักร ห้ามลงโทษในราชอีก ถ้า

1. ได้มีคำพิพากษาของศาลในต่างประเทศถึงที่สุด ให้ปล่อยตัว
2. ศาลในต่างประเทศพิพากษาลงโทษ + พ้นโทษแล้ว
ถ้าได้รับโทษมา ( ศาลต่างประเทศ ) ยังไม่พ้นโทษ ( ลงน้อยกว่าที่กฎหมายกำหนดเพียงใดก็ได้ / ไม่ลงโทษเลยก็ได้ )
*** คำนึงโทษที่รับมา ***

ทำผิดในราช / ถือว่าทำในราช ผู้นั้นได้รับโทษ ( ศาลต่างประเทศ ) บางส่วน / ทั้งหมด = ลงน้อยกว่า / ไม่ลงเลย ( คำนึงโทษที่รับมา )
ว.2 = ทำผิดในราช / ถือว่าทำในราช ( ฟ้องที่ศาลต่างปท. + รัฐบาลไทยร้องขอ ) ห้ามลงในราชอีก ถ้า


1. มีคำพิพากษาของศาลต่างปท. ถึงที่สุด ให้ปล่อยตัว
2. ศาลต่างปท. พิพากษาให้ลงโทษ + พ้นโทษแล้ว

วิธีการเพื่อความปลอดภัย (1)

วิธี.. ใช้บังคับกับบุคคลใด มีบทบัญญัติแห่งกฎหมายให้ใช้บังคับได้เท่านั้น + กฎหมายที่ใช้นั้นให้ใช้ขณะที่ศาลพิพากษา

กฎหมายบัญญัติภายหลัง ยกเลิกวิธี .. บุคคลโดนวิธี.. อยู่ ศาลสั่งระงับเสีย เมื่อสำนวนความปรากฏศาล / ผู้นั้น / ผู้แทน / อนุบาล / อัยการ

มีบุคคลถถูกวิธี.. + กฎหมายออกภายหลังเปลี่ยนแปลงเงื่อนไขวิธี.. 1. ไม่อาจนำมาใช้บังคับได้
2. นำมาใช้ได้แต่เป็นคุณแก่ผู้นั้นยิ่งกว่า


สำนวนความปรากฏแก่ศาล / ผู้นั้น / ผู้แทน / อนุบาล / อัยการ ร้องขอต่อศาลยกเลิกการใช้วิธี.. / ร้องขอรับผลนั้น ( ศาลสั่งตามสมควร )

ตามบทบัญญัติกฎหมายที่ออกภายหลัง ( โทษ วิธี.. ) + มีคำพิพากษาลงโทษไว้ = โทษที่ลงเป็นวิธี.. ด้วย
ว.2 = กรณีว.แรก ถ้ายังไม่ได้ลงโทษ / รับโทษอยู่ ก็ให้ใช้วิธี.. บังคับต่อไป = หากกฎหมายภายหลังมีงข.

1. ไม่อาจนำมาใช้บังคับแก้กรณีผู้นั้น
2. นำมาใช้ได้แต่เป็นคุณยิ่งกว่า

สำนวนความปรากฏแก่ศาล / ผู้นั้น / ผู้แทน / อนุบาล / อัยการ ร้องขอต่อศาลยกเลิกการใช้วิธี.. / ร้องขอรับผลนั้น ( ศาลสั่งตามสมควร )

ศาลพิพากษาให้ใช้วิธี.. ( ภายหลังความปรากฏแก่ศาลตามคำเสนอผู้นั้นเอง / ผู้แทน / ผู้อนุบาล อัยการ ) พฤติการณ์เปลี่ยนไป

ศาลจะสั่งเพิกถอน / งด ไว้ชั่วคราวได้ ( เห็นสมควร )
บทบัญญัติในภาค 1 ให้ใช้กรณีแห่งความผิดตามกฎหมายอื่นด้วย ( เว้นกฎหมายนั้นได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น )

โทษ

โทษสำหรับลงโทษ มีดังนี้ 1. ประหารชีวิต
2. จำคุก
3. กักขัง
4. ปรับ
5. ริบทรัพย์สิน
ว.2 = โทษประหาร + จำคุกตลอดชีวิต ห้ามนำมาใช้ ต่ำกว่า 18 ปี
ว.3 = กรณีต่ำกว่า 18 ทำโทษประหาร / จำคุกตลอดชีวิต เปลี่ยนเป็น 50 ปี

ประหาร ฉีดยา / สารพิษให้ตาย
ว.2 = หลักเกณฑ์ + วิธีการ กระทรวงยุติธรรมกำหนด ( ประกาศในราชกิจจานุเบกษา )


จำคุก

ความผิด จำคุก + ปรับ ลงแต่จำคุกก็ได้

การคำนวณระยะเวลาจำคุก นับวันเริ่มจำคุกเข้าด้วย + นับเป็น 1 วันเต็ม ( ไม่สนชั่วโมง )
ว.2 = ระยะเป็นเดือน 30 วัน / ระยะเป็นปี ปีปฏิทินในราชการ
ว.3 = ถูกจำคุกครบแล้ว ปล่อยในวันถัดจากวันที่ครบกำหนด

โทษจำคุก เริ่มแต่วันมีคำพิพากษา แต่ ถูกขังก่อนศาลพิพากษา หักวันที่ถูกคุมขังออกจากระยะเวลาการจำคุก( เว้นศาลกล่าวเป็นอย่างอื่น )
ว.2 = กรณีคำพิพากษากล่าวอย่างอื่น โทษตามคำพิพากษา + วันที่ถูกคุมขังก่อน


ไม่เกินอัตราโทษขั้นสูงที่กฎหมายกำหนดสำหรับความผิดที่ได้กระทำลงไป
( ไม่กระทบมาตรา 91 )

กักขัง

กระทำผิดโทษจำคุก + ลงไม่เกิน 3 เดือน + ไม่เคยรับโทษจำคุกมาก่อน ลงกักขังไม่เกิน 3 เดือน แทนจำคุกได้
เคยรับจำคุกมา แต่ ประมาท / ลหุโทษ

ใครโดนกักขัง กักไว้ในสถานที่กักขัง ( มิใช่เรือนจำ ) / สถานีตำรวจ / สถานที่ควบคุมผู้ต้องหาของพงส.
ว.2 = ศาลเห็นสมควร สั่งให้กักขังในที่อาศัยผู้นั้น / ผู้อื่นที่ยินยอม / สถานที่อื่น ( เหมาะสมกับประเภท / สถานภาพ ผู้ทำผิด )
ว.3 = ความปรากฏแก่ศาล การกักขังในสถานที่ ว.1 / ว.2 ( ก่อให้เกิดอันตราย / ผู้ต้องพึ่งพาเดือดร้อนในการดำรงชีพเกิดควร / ไม่สมควร)


ศาลอาจสั่งให้กักขัง = สถานที่อื่น ( มิใช่ที่อยู่อาศัยผู้นั้น ) + ได้รับความยินยอมจากเจ้าของ / ผู้ครอบครองสถานที่
ศาลอาจกำหนดเงื่อนไขให้ปฏิบัติตามได้ + หากเจ้าของยอมก็แต่งตั้งเป็นผู้ควบคุมดูแล + ถือเป็นจพง.ตามประมวลกฎหมายนี้

ผู้โดนกักขังในสถานที่ซึ่งกำหนด ได้รับการเลี้ยงดู + รับอาหารจากคนนอก ( ออกเอง ) + ใช้เสื้อผ้าตนเอง + เยี่ยมวันละ 1 ชม. + จดหมาย
( ภายใต้ข้อบังคับของสถานที่ )
ว.2 = ผู้ต้องโทษกักขัง ทำงานตามระเบียบ + ข้อบังคับ + วินัย ถ้า จะขอทำงานอย่างอื่น = ก็เลือกได้ แต่ ไม่ขัดระเบียบ ข้อบังคับ สถานที่

ผู้ต้องโทษกักขัง สถานที่ผู้นั้นเอง / ผู้อื่นที่ยินยอมรับผู้นั้นไว้ = จะดำเนินอาชีพตนในสถานที่ดังกล่าวได้ ( ศาลกำหนด งข. อย่างใดได้ )

ระหว่างโดนกักขัง ( ม. 23 3 เดือน ) = ความปรากฏแก่ศาลเอง / ปรากฏตามคำแถลงพนักงานอัยการ - ผู้ควบคุมดูแลสถานที่กักขัง


1. ผู้ต้องโทษกักขัง = ฝ่าฝืนระเบียบ / ข้อบังคับ / วินัย สถานที่กักขัง
2. ผู้ต้องโทษกักขัง = ไม่ปฏิบัติตาม งข. ที่ศาลกำหนด
3. ผู้ต้องโทษกักขัง = ต้องคำพิพากษาให้ลงโทษจำคุก
*** ศาลอาจเปลี่ยนโทษกักขังเป็นจำคุก ( กำหนดเวลาที่ศาลเห็นสมควร ) แต่ไม่เกินเวลากักขังที่จะต้องได้รับต่อไป ****

ปรับ

ต้องโทษปรับ = ชำระตามจำนวนในคำพิพากษาต่อศาล

ต้องโทษปรับ + ไม่ชำระใน 30 วันนับแต่ศาลพิพากษา ถูกยึดทรัพย์สินใช้ค่าปรับ / กักขังแทนค่าปรับ
( เห็นว่าจะหลีกเลี่ยง = สั่งเรียกประกัน / กักขังแทนค่าปรับ ไปพลางก่อนได้ )
ว.2 = ว.2 ของมาตรา 24 มินำมาใช้ ( กักขังที่อยู่อาศัยของเขาเอง / ผู้อื่นเขายินยอม )

กักขังแทนค่าปรับ หลัก 200 / 1 วัน + ห้ามกักขังเกิน 1 ปี ( กระทงเดียวหรือหลายกระทง )
เว้น ปรับเกิน 80000 บาท = เรียกประกัน / กักขังแทนค่าปรับ 1 ปี ไม่เกิน 2 ปี ได้
ว.2 = การคำนวณ นับวันเริ่มกักขังรวมเข้าด้วย + นับเป็น 1 วันเต็ม ( ไม่สน ชม. )
ว.3 = ถูกคุมขังก่อนศาลพิพากษา หักวันที่ถูกคุมขังออกจากเงินค่าปรับ ( 200 / 1 วัน ) เว้นแต่ โดนจำคุกและปรับ
1. หักวันที่คุมขังออกจากเวลาจำคุก ( ม.22 )
2. เหลือแล้วมาหักออกจากเงินค่าปรับ
ว.4 = ถูกกักขังแทนค่าปรับครบกำหนดแล้ว ปล่อยตัวในวันถัดจากวันที่ครบกำหนด / ถ้านำเงินค่าปรับมาชำระครบแล้วปล่อยเลย
( แทนค่าปรับ )
ปรับไม่เกิน 80000 + มิใช่นิติบุคคล + ไม่มีเงินจ่าย ยื่นคำร้องต่อศาลชั้นต้นที่พิพากษาคดี ขอทำงานบริการสังคม / ทำงานสาธารณะประโยชน์
ว.2 = พิจารณาคำร้องว. แรก = ฐานะการเงิน + ประวัติ + สภาพความผิด สมควรก็ได้
( ภายใต้การดูแล พนง.คุมประพฤติ / จนท.รัฐ / หน่วยงานของรัฐ / องค์การมีวัตถุประสงค์บริการสังคม – การกุศล )
ว.3 = ให้ทำงานสังคมแทน ศาลกำหนดลักษณะ / ประเภทของงาน / ผู้ดูแล ฯ ( ดูเอง ) + ศาลกำหนดเงื่อนไขอย่างใดเพื่อแก้ไขป้องกันก็ได้
ว.4 = ความปรากฏแก่ศาล พฤติการณ์ทำงานบริการสังคมได้เปลี่ยนแปลงไป ( ศาลแก้ไขได้ )
ว.5 = กำหนดให้ทำงานแทน นำมาตรา 30 มาใช้อนุโลม + ศาลมิได้กำหนดให้ทำงานติดต่อกันไป ( ต้องอยู่ภายใน 2 ปี นับแต่เริ่มทำงาน )
ว.6 = เพื่อปย. กำหนดชั่วโมงตามวรรค 3 ประธานศาลฎีกาออกระเบียบราชการฝ่ายตุลาการ ศาลยุติธรรมกำหนดชั่วโมงที่ถือ
เป็น 1 วันทำงาน

ภายหลังศาลอนุญาตให้ทำงานแล้ว ( ความปรากฏแก่ศาลเอง / คำแถลงของโจทก์ / จพง ) มีเงินพอชำระค่าปรับในเวลายื่นคำร้องขอทำงาน
ฝ่าฝืน / ไม่ปฏิบัติตาม


ศาลเพิกถอนคำสั่งอนุญาต + ปรับ / กักขังแทนค่าปรับ
( หักจำนวนวันทำงานออกจากค่าปรับได้ )
ว.2 = ระหว่างทำงานเกิดไม่อยากทำต่อ ขอเปลี่ยนเป็นรับโทษปรับ / กักขังแทนค่าปรับ ( ศาลอนุญาต = หักวันทำงานออกจากค่าปรับ )

คำสั่ง 2 มาตรา ( ทำงาน ) ให้เป็นที่สุด

ศาลจะปรับ ( หลายคน + ความผิดอันเดียวกัน + กรณีเดียวกัน ) ลงโทษปรับเรียงตามรายตัวบุคคล


ริบทรัพย์สิน

ทรัพย์สินใด กฎหมายบัญญัติว่า ผู้ใด ทำ / มี ไว้เป็นความผิด = ให้ริบเสีย + มีอำนาจดังนี้ด้วย 1. ได้ใช้ + มีไว้เพื่อทำผิด
2. ได้มาโดยการทำผิด
ว.2 = เว้นทรัพย์ของผู้อื่นที่ มิได้รู้เห็นเป็นใจในการทำผิด

บรรดาทรัพย์สิน 1. ได้ให้ในมาตรา 143 144 149 150 167 201 202 ให้ริบ เว้นทรัพย์ผู้อื่นที่มิได้รู้เห็นเป็นใจในการทำผิด
2. ได้ให้เพื่อจูงใจบุคคลกระทำความผิด / รางวัลในการทำผิด

ทรัพย์ที่ให้ริบ หลัก ตกเป็นของแผ่นดิน
เว้น ทำให้ทรัพย์สินใช้ไม่ได้ / ทำลายทรัพย์สินนั้นเสียได้

ศาลสั่งริบไปแล้ว ปรากฏภายหลังเจ้าของที่แท้จริงมิได้รู้เห็นเป็นใจในการทำผิด ศาลสั่งคืน
ถ้าทรัพย์อยู่กับ จพง. คำเสนอต้องภายใน 1 ปี
( นับแต่คำพิพากษาถึงที่สุด )

ผู้ที่ศาลสั่งให้ส่งทรัพย์สินที่ริบ ไม่ส่งภายในเวลาที่ศาลกำหนด ศาลมีอำนาจสั่งดังนี้ 1. ยึดทรัพย์สิน
2. ให้ชำระราคาสั่งยึดทรัพย์อื่นของผู้นั้นชดใช้ราคาจนเต็ม
3. ศาลเห็นว่าส่งได้แต่ไม่ส่ง / ชำระได้แต่ไม่ชำระ


กักขังจนกว่าจะทำตาม แต่ไม่เกิน 1 ปี
ถ้าภายหลังปรากฏแก่ศาลเอง / คำเสนอผู้นั้น ผู้นั้นไม่สามารถส่งทรัพย์สิน / ชำระราคาได้ = ปล่อยตัวก่อนครบกำหนดได้

*** โทษระงับไปด้วยความตายของผู้ทำผิด ***


วิธีการเพื่อความปลอดภัย

มีดังนี้ 1. กักกัน
2. ห้ามเข้าเขตกำหนด
3. เรียกประกันทัณฑ์บน
4. คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล
5. ห้ามประกอบอาชีพบางอย่าง

กักกัน

กักกัน คือ ควบคุมผู้ทำผิดติดนิสัยในเขตกำหนด ( ป้องกันการทำผิด + ดัดนิสัย + ฝึกอาชีพ )

เคยถูกศาลพิพากษากักกันมาแล้ว ความผิดดังนี้ 1. สงบสุข ม.209-216
เคยถูกจำคุกไม่ต่ำกว่า 6 เดือน 2. ภยันตราย ม.217-224
3.เงินตรา ม.240-246
4. เพศ ม.276-286
5. ชีวิต ม.288-290 และ มาตรา 292-294
6. ร่างกาย ม.295-299
7. เสรีภาพ ม.309-320
8. ทรัพย์ ม.334-340 และ มาตรา 354 357
ว.2 = ภายใน 10 ปี นับแต่พ้นกักกัน / โทษ ( ทำผิดที่ระบุอีก + ศาลพิพากษาจำคุกไม่ต่ำกว่า 6 เดือน ) ติดนิสัย
( กักกันไม่น้อยกว่า 3 ปี + ไม่เกิน 10 ปีได้ )

ว.3 = ทำผิดยังไม่เกิน 17 ปี มิให้ถือเป็นความผิดที่จะมาพิจารณากักกันตามมาตรานี้

การคำนวณ ( กักกัน ) เริ่มวันที่ศาลพิพากษาเป็นวันเริ่มกักกัน แต่ มีโทษจำคุก / กักกันที่รับอยู่ ก็รับไปก่อน + นับวันพ้นเป็นวันเริ่มก.ก
ว.2 = ระยะเวลากักกัน / การปล่อยตัว ม.21 ใช้บังคับอนุโลม ( 1 วันเต็ม / 30 วัน / ปีปฏิทินราชการ )

การฟ้องให้กักกัน = หน้าที่อัยการ + ขอรวมไปในฟ้อง ( มูลเกิดอำนาจขอให้กักกัน ) / ฟ้องภายหลังก็ได้

ห้ามเข้าเขตกำหนด

คือ ห้ามเข้าไปในท้องที่ / สถานที่ที่กำหนดในคำพิพากษา

เมื่อพิพากษา + เห็นสมควรเพื่อความปลอดภัยประชาชน ( ไม่ว่ามีคำขอหรือไม่ ) สั่งในคำพิพากษาว่าเมื่อพ้นโทษห้ามเข้าเขตไม่เกิน 5 ปี

เรียกประกันทัณฑ์บน

ความปรากฎแก่ศาล ( ข้อเสนออัยการ ) ผู้ใดจะก่อเหตุร้าย ( บุคคล / ทรัพย์สิน ) ในการพิจารณาความผิดใด


ถ้าศาลไม่ลงโทษ แต่ ผู้ถูกฟ้องน่าจะก่อเหตุร้าย ให้สั่งทำทัณฑ์บนไว้
ไม่เกิน 5000 บาท ไม่เกิน 2 ปี + มีประกันด้วยหรือไม่ก็ได้

ว.2 = ผู้นั้นไม่ยอมทำ สั่งกักขังจนกว่าจะทำ / หรือหาประกันได้ ( กักขังไม่เกิน 6 เดือน ) / สั่งห้ามเข้าเขตกำหนด
ว.3 = เด็กไม่เกิน 17 มิอยู่ในบังคับตามมาตรานี้

ผู้ทำผิดทัณฑ์บน ศาลมีอำนาจสั่งให้ผู้นั้นชำระเงินไม่เกินจำนวนในทัณฑ์บน ถ้าไม่ชำระ เอามาตรา 29 30 ( เรื่องปรับ ) มาใช้


คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล

ศาลเห็นว่า การปล่อยตัว ( ผู้มีจิตบกพร่อง / ฟั่นเฟือน ที่ไม่ต้องรับโทษ / ลดโทษ ) ไม่ปลอดภัยกับประชาชน = คุมไว้ในสถานพยาบาลได้
( คำสั่งนี้เพิกถอนเมื่อใดก็ได้ )

ศาลลงจำคุก / รอลงโทษ / รอกำหนดโทษ ทำความผิดเกี่ยวเนื่องการเสพสุราเป็นอาจิณ / ยาเสพติด


ศาลกำหนดในคำพิพากษาต้องไม่เสพ สุรา / ยาเสพติด ( อย่างใด / ทั้งสอง )
ไม่เกิน 2 ปี นับแต่วันพ้นโทษ / วันปล่อยตัวเพราะรอกำหนดโทษ / รอการลงโทษ
ว.2 = บุคคลในวรรคแรกไม่ทำตาม ส่งไปคุมที่สถานพยาบาล ( ไม่เกิน 2 ปี )

ห้ามประกอบอาชีพบางอย่าง

เมื่อศาลพิพากษาลงโทษ + เห็นว่าความผิดที่ทำอาศัยโอกาสจากการประกอบอาชีพ / วิชาชีพ + ให้ทำต่อคงทำผิดอีก


ศาลสั่งในคำพิพากษาห้ามประกอบอาชีพ / วิชาชีพนั้นอีก
ไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันพ้นโทษ

เพิ่มโทษ / ลดโทษ / รอการลงโทษ

การเพิ่มโทษ มิให้เพิ่มถึงประหารชีวิต / จำคุกตลอดชีวิต / เกิน 50 ปี

การลดโทษประหาร ( ลดมาตราส่วน / ลดโทษที่จะลง ) ลดดังนี้ 1. ลด 1 ใน 3 ให้ลดเป็นโทษจำคุกตลอดชีวิต
2. ลดกึ่งหนึ่ง ให้ลดเป็นโทษจำคุกตลอดชีวิต หรือ 25 -50 ปี
การลดโทษจำคุกตลอดชีวิต ( ลดมาตราส่วน / ลดโทษที่จะลง ) จำคุก 50 ปี

การคำนวณเพิ่ม / ลด ตั้งกำหนดโทษก่อนแล้วค่อยเพิ่ม / ลด *** ถ้ามีทั้งเพิ่ม + ลด = ให้เพิ่มก่อนแล้วค่อยลดจากผลที่เพิ่ม ***
ถ้าส่วนที่เพิ่ม ( เท่ากับ / มากกว่า ) ที่จะลด + ศาลเห็นสมควรไม่เพิ่มไม่ลดก็ได้

โทษจำคุกที่โดน 3 เดือนหรือน้อยกว่า ศาลจะกำหนดโทษจำคุกให้น้อยลงอีกก็ได้
โทษจำคุกที่โดน 3 เดือนหรือน้อยกว่า + มีโทษปรับด้วย ศาลจะกำหนดโทษจำคุกให้น้อยลงอีกก็ได้ / ยกโทษจำคุกเสียปรับอย่างเดียว

ทำผิดโทษจำคุก + ลงไม่เกิน 3 ปี + ไม่เคยโดนมาก่อน ศาลคำนึง อายุ ประวัติ ความประพฤติ สติปัญญา
เคยแต่ประมาท / ลหุโทษ การศึกษา สภาพความผิด เหตุปราณี


ศาลพิพากษาผู้นั้น มีความผิดแต่รอกำหนดโทษไว้ / กำหนดโทษแต่รอการลงโทษ
กลับตัวในเวลาที่ศาลกำหนด ไม่เกิน 5 ปี นับแต่วันที่ศาลพิพากษา + กำหนด งข. คุมความประพฤติด้วยหรือไม่ก็ได้
ว.2 = งข. คุมความประพฤติ ข้อเดียว / หลายข้อ ดังนี้
1. ไปรายงานตัว จพง.ที่ศาล ครั้งคราว ( จพง. สอบถาม / แนะนำ / ช่วยเหลือ / ตักเตือน ตวามประพฤติ + การประกอบอาชีพ
จัดให้ทำกิจกรรมบริการสังคม / สาธารณประโยชน์ จพง. เห็นสมควร )
2. ฝึกหัด / ทำงานอาชีพกิจจะลักษณะ
3. ละเว้นการคบหาสมาคม / ประพฤติสู่การทำผิดอีก
4. บำบัดรักษายาเสพติดให้โทษ ( บกพร่องทางกาย / ใจ / เจ็บป่วยอย่างอื่น ณ สถานที่ + เวลาที่ศาลกำหนด )
5. งข. อื่นๆ ที่ศาลเห็นสมควรกำหนดเพื่อแก้ไขฟื้นฟู / ป้องกันไม่ให้ทำผิดอีก / มีดอกาสทำผิดอีก )
ว.3 = งข. ข้างบน ภายหลังความปรากฏแก่ศาลตามคำขอผู้ทำผิด / ผู้แทนโดยชอบธรรม / ผู้อนุบาล / อัยการ / จพง.


พฤติการณ์ผู้ทำผิดเปลี่ยนแปลงไป ศาลเห็นสมควร = แก้ไข / เพิกถอนข้อหนึ่งข้อใดได้ / กำหนดงข. ที่มิได้กำหนดเพิ่มได้

ความปรากฏแก่ศาล / ความปรากฏตามคำแถลงของอัยการ / จพง. ว่า ผู้กระทำไม่ปฎิบัติตาม งข. ในม.56

ศาลตักเตือนผู้ทำผิด / กำหนดการลงโทษที่ยังไม่ได้กำหนด / ลงโทษซึ่งรอไว้นั้นได้

ความปรากฏแก่ศาล / ความปรากฏตามคำแถลงของอัยการ / จพง. ว่า ภายในเวลามาตรา 56 ผู้ที่ถูกศาลพิพากษาได้ทำผิดโทษจำคุก
*** ศาลพิพากษาคดีหลังกำหนดโทษที่รอการกำหนดในคดีก่อนบวกเข้ากับโทษคดีหลัง *** ( มิใช่ประมาท / ลหุโทษ )
ศาลพิพากษาคดีหลังบวกโทษที่รอการลงโทษในคดีก่อนเข้ากับคดีหลัง
( ภายในเวลา ม.56 ถ้าไม่ได้ทำผิดตามวรรคแรก = พ้นกำหนดโทษ / รอ )

1 ความคิดเห็น:

  1. CASINO HOTEL, Tunica Resorts - MapYRO
    Welcome to 용인 출장샵 Las Vegas 포항 출장샵 Casino Hotels. 순천 출장마사지 This Hotel features the newest rooms from the popular and newest technology on 안동 출장안마 the casino floor. Book 논산 출장안마 now & browse

    ตอบลบ